Page 78 - BBLP ejournal2018.docx
P. 78

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์




















              Fig.1 synchronization of estrus and ovulation and fixed time-Al protocol in crossbred Thai-native beef cattle.


                     2. ท าการตรวจการตั้งท้องวันที่ 90 หลังจากการผสมเทียมด้วยการล้วงตรวจคล าผ่านทางทวาร

              หนักที่ 90 วัน และใช้เครื่องอัลตราซาวนด์รุ่น HS-2000 (HONDA ELECTRONICS, Japan) ที่ความถี่ 7.5

              MHz และค านวณอัตราการผสมติดและตั้งท้องดังนี้


                      อัตราการผสมติด (Conception rate) =            จ านวนโคที่ไม่กลับสัด      X 100

                                                           จ านวนโคทั้งหมดที่ถูกผสมพันธุ์


                      อัตราการตั้งท้อง (Pregnancy rate)  =            จ านวนโคที่ตั้งท้อง       X 100

                                                            จ านวนโคทั้งหมดที่ถูกผสมพันธุ์



              4. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ

                     ข้อมูลในการวิจัยประเภทข้อมูลต่อเนื่อง (continuous data) ได้แก่ น ้าหนักตัว (body weight) และ

              สภาพความสมบูรณ์ของร่างกายโค (body condition score) รวมถึงระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนโปรเจส
              เทอโรน (P4) วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ (Analysis of variance; ANOVA) โดยใช้ Proc. GLM และ

              เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ได้ โดยวิธี Duncan’s multiple range test ที่ระดับความ

              เชื่อมั่น 95 % ส่วนข้อมูลจ าแนกประเภท (categorical data) ได้แก่ อัตราการผสมติด อัตราการตั้งท้อง

              น ามาวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี Proc. CATMOD และ Chi-square test



                                                ผลการทดลองและวิจารณ์

              ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                     ในการศึกษาการเหนี่ยวน าการตกไข่และผสมเทียมแบบก าหนดเวลาโดยการใช้ Progesterone

              ร่วมกับ PGF2α และ GnRH หรือ hCG ในโคลูกผสมพื้นเมืองไทยนั้น ก่อนการทดลองได้ให้คะแนนสภาพ



                                                           68
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83