Page 81 - BBLP ejournal2018.docx
P. 81

Journal of Biotechnology in Livestock Production



              (3/10) สอดคล้องกับผลการยืนยันด้วยระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน (P4) ของโคทั้ง 7 ตัว

              ที่มีค่าอยู่ระหว่าง 0.79-1.15 นาโนกรัม/มิลลิลิตร โดยโคที่ผสมติดจ านวน 3 ตัว ไม่แสดงการเป็นสัดและมีค่า

              ของ P4 อยู่ระหว่าง 2.35-3.87 นาโนกรัม/มิลลิลิตร แต่อย่างไรก็ตามการใช้ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนชนิด

              สอดเข้าช่องคลอดร่วมกับโปรแกรมการเหนี่ยวน าการตกไข่และการผสมเทียมแบบก าหนดระยะเวลาให้ผล
              การตอบสนองที่ดี ซึ่งโปรแกรมการเหนี่ยวน าการเป็นสัดและตกไข่ด้วยฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนชนิดสอดเข้า

              ช่องคลอดสามารถเหนี่ยวน าให้แม่โคแสดงอาการเป็นสัดสูงมากสอดคล้องกับรายงานของ Bo et al. (2002)

              พบว่าการใช้ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนชนิดสอดเข้าช่องคลอดเพื่อเหนี่ยวน าการเป็นสัดให้อัตราการผสมติด

              สูงขึ้น

                     จากการทดลองในครั้งนี้พบว่าอัตราการตั้งท้อง (Pregnancy rate) ของโคซึ่งได้รับการยืนยันด้วย

              การล้วงตรวจผ่านทางทวารหนักเมื่อครบ 90 วันหลังจากท าการผสมเทียม มีอัตราการตั้งท้องของโคกลุ่มที่

              1 กลุ่ม 2 และ 3 มีค่าเท่ากับ 20 เปอร์เซ็นต์ 40 เปอร์เซ็นต์ และ 40 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ แต่เมื่อ
              เปรียบเทียบโคกลุ่มที่ 2 กับโคกลุ่มที่ 3 พบว่ามีอัตราการตั้งท้องไม่แตกต่างกัน (40 เปอร์เซ็นต์ (P>0.05)

              อย่างไรก็ตามเมื่อท าการเปรียบเทียบโคกลุ่มที่ 2 และ 3 กับโคกลุ่มที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มควบคุมกลับพบว่าโค

              กลุ่มที่ 2 และ 3 มีอัตราการตั้งท้องที่สูงกว่ากลุ่มที่ 1 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P<0.05) ซึ่งใกล้เคียงกับ

              การศึกษาโดย Lamb et al. (2006) ในโคเนื้อสาวที่พบว่าอัตราการตั้งท้องจากการใช้ CIDR-PG GnRH ใน

              การเหนี่ยวน าการเป็นสัดและการตกไข่โดยการผสมเทียมแบบก าหนดเวลาที่ 48 ชั่วโมง มีค่าเท่ากับงาน

              ทดลองของ Bartolome et al. (2005) ที่ 49 เปอร์เซ็นต์ (วันที่ 27 หลังการผสมเทียม) และ 44.4 เปอร์เซ็นต์

              (วันที่ 55 หลังการผสมเทียม) แต่ในงานทดลองครั้งนี้มีอัตราการตั้งท้องที่ต ่ากว่าในงานทดลองของ สมชัย

              และคณะ (2551) ในการหาความสัมพันของการตั้งท้องและการใช้ Progesterone ร่วมกับ PGF 2α และ

              GnRH สังเคราะห์ GnRH ธรรมชาติหรือ hCG ในโคเนื้อสาวซึ่งพบว่ามีความสัมพันธ์กับจ านวนของการตั้ง

              ท้องในกลุ่มโคสาว (p<0.05) ที่มีการใช้ฮอร์โมน GnRH ธรรมชาติมีการตั้งท้องจ านวน 24 จากทั้งหมด 29

              ตัวคิดเป็น 82.76 เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่มและในแม่โคกลุ่มที่มีการใช้ฮอร์โมน hCG มีการตั้งท้องจ านวน 12 ตัว
              จากทั้งหมด 14 ตัวคิดเป็น 85.71 เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่มเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม แต่อย่างไรก็ตามใน

              การเสริมด้วย GnRh หรือ hCG ในการทดลองครั้งนี้ช่วยท าให้มีอัตราการตั้งท้องดีกว่าการใช้เพียง

              Progesterone ร่วมกับ PGF 2α ซึ่ง Navanukraw  et al. (2010) ให้เหตุผลว่าการประยุกต์วิธีการเหนี่ยวน าการ

              ตกไข่โดยการเสริมฮอร์โมน GnRh หรือ hCG ในวิธีการ Ovsynch หลังการผสมเทียมนั้นเพื่อสร้าง CL ให้

              เพิ่มขึ้น (accessory CL)  เมื่อจ านวน CL เพิ่มขึ้นความเข้มข้นของฮอร์โมน Progesterone (P4) ก็เพิ่มขึ้น

              ในวันที่ 12 ภายหลังการผสมเทียมระดับความเข้มข้นของฮอร์โมน P4 ที่สูงขึ้นส่งผลต่อสภาพแวดล้อมของ

              มดลูกและการพัฒนาการของเอมบริโอในวันที่ 13-16 ของการตั้งท้อง





                                                           71
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86