Page 71 - BBLP ejournal2018.docx
P. 71

Journal of Biotechnology in Livestock Production



                     เมื่อค านวณจากจ านวนตัวอ่อนระยะแบ่งตัว 2-4 เซลล์ (cleaved embryos) ผลบลาสโตซิสต์ที่ได้

              ครั้งนี้ไม่แตกต่างจากรายงานในโคของ Reis et al. (2002) ที่ได้ blastocyst rate ประมาณ 12 % แต่ผลที่ได้

              ครั้งนี้ต ่ากว่ารายงานของ มาลี และคณะ (2552) ในโคขาวล าพูน ที่ได้blastocyst rate 27 % ทั้งนี้ความ

              แตกต่างที่พบอาจเป็นผลเนื่องมาจากคุณภาพน ้าเชื้อและสายพันธุ์โคที่แตกต่างกัน Morrell (2006) รายงาน
              ว่า motility ของน ้าเชื้อแช่แข็งและความสามารถในการปฏิสนธิและการเจริญเป็นตัวอ่อนมีความสัมพันธ์กัน

              เพียงเล็กน้อยเท่านั้นอย่างไรก็ตามนับได้ว่าน ้าเชื้อแช่แข็งจากพ่อพันธุ์ RAB 280 ที่น ามาใช้ทดลองครั้งนี้ มี

              ประสิทธิภาพในการปฏิสนธิกับโอโอไซต์นอกร่างกาย สามารถผลิตเป็นตัวอ่อนมีคุณภาพได้ เป็นการสร้าง

              มูลค่าเพิ่มให้กับน ้าเชื้อที่จะถูกคัดออก ให้กลับมาใช้ประโยชน์ได้แทนการคัดทิ้งด้วยสาเหตุจากค่า motility

              ต ่ากว่า 40 % มีรายงานผลการผลิตตัวอ่อนตัวอ่อนโคด้วยวิธีปฏิสนธินอกร่างกายจากน ้าเชื้อแช่แข็งที่มี

              motility ต ่ากว่า 40 % น้อยมาก เนื่องจากเป็นเกณฑ์ที่ต ่ากว่ามาตรฐานการผลิตน ้าเชื้อเพื่อผสมเทียมซึ่ง

              ต้อง 40% ขึ้นไป เท่าที่พบมีรายงานในโคของ Tanghe et al. (2002) น าน ้าเชื้อแช่แข็งจากพ่อพันธุ์ที่ให้ผล
              การผสมติดต ่ากว่า 30 % ซึ่งมี motility หลังละลายเฉลี่ย 39 % มาใช้ทดลอง โดยตรวจสอบเฉพาะการเกิด

              โปรนิวเคลียสของโอไซต์หลังจากท า IVF โดยพบว่าสามารถน าอัตราการเกิดโปรนิวเคลียสมาใช้ทดสอบ

              คุณภาพของน ้าเชื้อได้

                     ส าหรับน ้าเชื้อแช่แข็งพ่อพันธุ์ RAB 102 เกิดการปนเปื้อนของน ้าเชื้อในขั้นตอนการเพาะเลี้ยงตัว

              อสุจิร่วมโอโอไซต์ที่พร้อมปฏิสนธิในทุกครั้งการทดลอง (ทดลอง 3 ครั้ง) และไม่มีการแบ่งตัวของตัวอ่อน

              เกิดขึ้นดังนั้นไม่ได้ตัวอ่อนจากน ้าเชื้อ RAB 102 สาเหตุของการเกิดปนเปื้อนยังไม่ทราบแน่ชัด



                                                    สรุปผลการทดลอง

                     น ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดง RAB 280 ที่มี motility ต ่ากว่า 40 % ที่ใช้ในการทดลองนี้ มี

              ประสิทธิภาพในการผลิตตัวอ่อนระยะบลาสโตซีสต์ด้วยวิธีปฏิสนธินอกร่างกายกับโอโอไซต์ที่เจาะเก็บผ่าน

              ผนังช่องคลอด เป็นตัวอ่อนระยะที่น าไปย้ายฝากในโคตัวรับได้ โดยน ้าเชื้อแช่แข็งมีค่าเฉลี่ย % motility
              และ% Live หลัง swim-up สูงกว่าก่อนท า swim-up อย่างมีนัยส าคัญ



                                                      ข้อเสนอแนะ

                     ผลจากการวิจัยครั้งนี้ น่าจะน าไปประยุกต์ใช้กับน ้าเชื้อโคที่มีคุณค่าทางพันธุกรรมสูง แต่มีค่า

              motility ต ่าเมื่อน าไปผลิตน ้าเชื้อแช่แข็งการทดลองครั้งนี้ใช้วิธีเตรียมตัวอสุจิเพื่อปฏิสนธิเพียงวิธีเดียว คือ

              swim-up method ยังมีวิธีเตรียมตัวอสุจิอีกหลายวิธี เพื่อคัดกรองคัดแยกตัวอสุจิที่ดีแข็งแรงออกจากกลุ่มตัว
              อสุจิที่ไม่แข็งแรง มีความผิดปกติในลักษณะต่างๆ ควรน ามาพิจารณาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

              การแยกตัวอสุจิ อันอาจส่งผลถึงประสิทธิภาพการผลิตตัวอ่อนถึงระยะบลาสโตซิสต์ จะเป็นการใช้ประโยชน์

              อย่างสูงสุดจากน ้าเชื้อแช่แข็งที่มี motility ต ่าและต้องถูกท าลายได้อย่างคุ้มค่า

                                                           61
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76