Page 13 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 13

ี
                                   ั
                       เป็นวิชาที่มุ่งพฒนาให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดีของสังคมอกด้วย ดังนั้นการจัดการเรียนรู้ในวิชาสังคม
                       ศึกษา หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่าสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงควรเป็นวิธีการ
                       เรียนรู้ที่จะช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ใช้สติปัญญาความรู้ความคิด และความสามารถ

                                                                                                    ิ
                                                                    ั
                       ต่างๆ อย่างเต็มที่ตลอดจนควรเป็นวิธีการเรียนรู้ที่ช่วยพฒนาผู้เรียนในด้านของอารมณ์ด้วย (อทธิเดช
                       น้อยไม้, 2548)
                                 ในบริบทการศึกษาของไทย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม

                       ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นั้นมีวิธีการที่ผสมผสานจากหลากหลายแนวคิด ซึ่งที่นิยมใช้อยู่นั้น ก็มี
                       อาทิ เช่น การเรียนการสอน ที่สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

                       (CIPPA Model) ของทิศนา แขมมณี การเรียนการสอนที่มีวิจัยเป็นฐาน การเรียนรู้แบบร่วมมือ การ

                                                                                    ี
                       เรียนแบบสืบสวนสอบสวน (5E) การสอนแบบโครงงาน เป็นต้น ซึ่งมีอกหลากหลายวิธีที่ยังไม่ได้
                       กล่าวถึงในที่นี้ ในรูปแบบวิธีการสอนต่างมีข้อดีข้อจ ากัดที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้สอนเองก็สามารถ

                       หยิบจับน ามาเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับบริบท หรือเนื้อหา ทั้งนี้เพอให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
                                                                                    ื่
                              ี
                       ผู้เรียนอกทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม อย่างมี
                                                                         ั
                       คุณธรรมจริยธรรมที่จะออกไปเป็นก าลังส าคัญในการพฒนาประเทศ ดังนั้น ในการจัดการ
                       เรียนการสอน ผู้รายงานจึงมีความคิดเห็นว่า ควรตระหนักถึงเป้าหมายส าคัญ 3 ประการ คือ

                       (กระทรวงศึกษาธิการ, 2549)
                                 1) การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา เพอพฒนาทักษะทางด้านปัญญา คือ มีทักษะ
                                                                      ื่
                                                                        ั
                                                                                             ื่
                       กระบวนการคิดและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยมีวิจัยเป็นฐานในการเรียนรู้ เพอให้เกิดทักษะ
                       กระบวนการคิด การสร้าง การวิเคราะห์ และการสร้างสรรค์ เพอการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆนั้น จัก
                                                                            ื่
                       เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ

                                                                        ั
                                                                      ื่
                                 2) การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา เพอพฒนาทักษะสังคม คือ การเรียนการสอน
                                                    ื่
                                               ั
                       แบบร่วมมือและการปฏิสัมพนธ์ เพอให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ระหว่างกันการแสดงออกความคิดเห็น
                       และการรับฟงความคิดเห็นของผู้อน จะเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งจะน าสังคมไทยเป็นสังคม
                                 ั
                                                   ื่
                       แห่งการเรียนรู้
                                                                        ิ
                                                                                             ึ
                                 3) การจัดการเรียนการสอนเพอพฒนาเจตพสัยและคุณลักษณะอนพงประสงค์ คือ
                                                                                          ั
                                                               ั
                                                            ื่
                       การบูรณาการความรู้ท้องถิ่นและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกเรื่อง
                       คุณธรรมจริยธรรมจะท าให้ผู้เรียนซึมซับและมีแนวทางในการปฏิบัติตนที่เหมาะสมและเข็มแข็งต่อสิ่ง
                       รบเร้าอีกทั้งสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดการเรียนรู้อย่างเท่าทัน
                                 ส่วนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ คือ แนวการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้

                       ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่และสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยการใช้กระบวนการทางปัญญา กระบวนการความคิด
                                                                                ั
                       กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม และให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพนธ์และมีส่วนร่วมในการเรียน
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18