Page 18 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 18
2.2 การตีความ (Interpretation) เป็นความสามารถในการสื่อความหมายโดยการ
อธิบายหรือสรุปความ ซึ่งมีลักษณะที่ลุ่มลึกกว่าการแปล เพราะการแปลจะมีลักษณะการสื่อ
ความหมายโดยการถอดความแบบค าต่อค า แต่การตีความหมายต้องมีการจัดระเบียบใหม่ เรียบเรียง
ใหม่ แสดงแนวคิดใหม่แต่ยังรักษาความหมายเดิมไว้ เช่น สามารถตีความหมายข้อมูลทางสังคมได้
หลายๆ แง่มุมสามารถสรุปความคิดทั้งหมดออกเป็นประเด็นส าคัญตามต้องการ
2.3 การขยายความ (Extrapolation) เป็นความสามารถในการสื่อความหมายโดย
การขยายความ คาดคะเนแนวโน้มของข้อมูลว่าจะมีทิศทางไปในทางใดมีผลลัพธ์ออกมาอย่างไรซึ่ง
ั
จะต้องสอดคล้องกบความหมายดั้งเดิม หรืออาศัยข้อมูลเดิมเป็นเครื่องตัดสินผลลัพธ์ต่างๆ เช่นทักษะ
ในการพยากรณ์ ความสืบเนื่องของแนวโน้มหนึ่งๆ ความสามารถในการสรุปผล โดยการอนุมานด้วย
ข้อความที่ชัดเจน
3. การน าไปใช้ (Application) เป็นความสามารถในการจดจ าและน าเอาหลักการเทคนิค
และทฤษฎีมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การน าปรากฏการณ์ต่างๆ มาอภิปรายใน
เชิงวิทยาศาสตร์
4. การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวที่สมบูรณ์ให้
กระจายออกเป็นส่วนย่อยหรือองค์ประกอบที่ส าคัญ ซึ่งจ าแนกออกเป็น 3 ระดับ คือ
1. การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Analysis of Element) เป็นความสามารถในการ
ค้นหาองค์ประกอบที่ส าคัญส่วนรวมออกมา เช่น จ าแนกข้อเท็จจริงออกจากสมมติฐาน
ั
2. การวิเคราะห์ความสัมพนธ์ (Analysis of Relationship) เป็นความสามารถใน
ั
ื่
ั
การค้นหาความสัมพนธ์ และความสัมพนธ์ระหว่างองค์ประกอบและส่วนอนของการสื่อความหมาย
เช่น ความสามารถในการตรวจสอบ ความมั่นคงของสมมติฐานและข้อสมมติทักษะในการวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดหลายๆ แนวคิด
3. การวิเคราะห์การด าเนินการ (Analysis of Organizational Principle) เป็น
ความสามารถในการจัดระเบียบ การเรียบเรียงระบบว่ามีโครงสร้างอย่างไร ซึ่งอาจจะเป็นโครงสร้างที่
ชัดเจนหรือมีเงื่อนง า เช่น ความสามารถในการบ่งชี้ถึงเทคนิคทั่วไปที่ใช้ในการโฆษณาหรือชักชวน
5. การสังเคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยเข้า
เป็นเรื่องราวเดียวกัน ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการท างาน การจัดเรียนและการผสมผสานให้เกิดสิ่ง
ใหม่ขึ้นนั้นต้องดัดแปลงปรับปรุงของเก่าให้ดีขึ้น มีคุณภาพสูงขึ้น จ าแนกเป็น 3 ระดับ คือ
1. การสื่อสารถ่ายทอดความคิด (Production of Unique Communication) เป็น
ความสามารถในการถ่ายทอดของผู้เขียนหรือผู้พดที่พยายามถ่ายทอดแนวคิด ความรู้สึกหรือ
ู
ประสบการณ์ ไปสู่ผู้อนให้เข้าใจความหมายตรงกัน เช่น ความสามารถในการบอกเล่าประสบการณ์
ื่