Page 21 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 21

ุ
                                                                                                        ั
                                                                                           ึ
                       หลอมมาจาก หลักธรรมค าสอนทางพทธศาสนา เป็นกิริยาวาจาที่บุคคลในสังคมพงปฏิบัติต่อกัน อน
                       จะเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม จนนับเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมทางศาสนาที่มีลักษณะเฉพาะ
                       ของชาวพทธในประเทศไทย แม้จะไม่ส าคัญเท่าหลักธรรมค าสอนโดยตรงแต่ก็มีส่วนในการสร้างความ
                               ุ
                       รักความสามัคคี อนเป็นเอกลักษณ์ส าคัญของสังคมไทย ที่คนไทยทุกคนควรประพฤติปฏิบัติและสืบ
                                      ั
                       ทอดต่อไป



                              4.2 ประเภทของมารยาทชาวพุทธ
                                 กิริยามารยาทเป็นเอกลักษณ์ส่วนหนึ่ง เป็นเรื่องของการปฏิบัติตนบุคคลของคนในชาติ

                       ไทย ผู้มีมารยาทนั้นต้องประพฤติทั้งทางกาย วาจา ใจ คือ ท าดี พดดี คิดดี ดังปรากฏในสมบัติของ
                                                                              ู
                       เจ้าของ เจ้าพระยาสมด็จสุเรนทราธิบดี ในหนังสือสมบัติผู้ดี 2516 ต่าง ๆ ดังนี้
                                 1. ประเภทมารยาททางกาย

                                 มารยาททางกาย คือ การท าดี เป็นการแสดงอาการที่กระท าทางกายว่าสมควรท าในสิ่งที่

                       ไม่ควรท าหรือไม่ ด้วยการระมัดระวังการกระท าต้องไม่เดือดร้อนทั้งต่อตนเองและส่วนร่วมโดยแบ่ง
                       ประเภทของมารยาทดังนี้

                                                                   ่
                                     1.1 มารยาทในอิริยาบถต่าง ๆ ได้แก การยืน การเดิน การนั่ง
                                                                                         ี
                                     1.2 มารยาทการเดิน การเดิน คือ อยู่ในท่ายืนก้าวขาตรงออกทละข้างสลับกันงอเขา
                                                                                             ิ
                       แล้ววางเท้าให้ตรงประดุจดังเดินบนกระดานแผ่นเดียว การเดินโดยทั่ว ๆ ไปเป็นอริยาบถที่ท าให้
                       ร่างกายเคลื่อนไหวไปจากเดิมได้ เมื่อเราอยู่ในสังคมก็ควรมีมารยาทในการเดิน

                                     1.3 มารยาทการนั่ง การนั่ง เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความเจริญของชนชาตินั้น ๆถือเป็น
                               ี
                       มารยาทอกแบบหนึ่ง ก็ต้องมีระเบียบแบบแผนในการนั่งให้ถูกหลักการปฏิบัติของสังคมตามกาลเทศะ
                                                                     ื้
                                                                                    ี้
                       ที่แต่ละคนประสบอยู่ ไม่ว่าการนั่งนั้นจะเป็นการนั่งกับพนหรือนั่งบนเก้าอ ก็ตามโดยเฉพาะในสมัยที่
                       ยังไม่มีเก้าอี้ใช้สังคมไทยมีแบบฉบับการนั่งกับพื้นเป็นเวลานานจนเป็นที่นิยมของชาติอื่นๆ ในโลก
                                     1.4 มารยาทการแสดงความเคารพ “คารโว จ นิวาโต จ …เอตมมงคล มุตตม  ความ

                                                          ั
                                                            ุ
                                        ่
                       เคารพ ความสุภาพออนน้อม…เป็นมงคลอนอดม” (พระธรรมปิฎก 2543 : 323 - 324) ความเคารพ
                                                                                  ั
                       ได้แก่ กิริยาอาการที่ยกย่องเชิดชูซึ่งบุคคลหรือสิ่งที่ควรยกย่องเชิดชู อนเป็นอาการตรงกันข้ามกับ
                                                                              ่
                       ความดูหมิ่นเหยียดหยาม ได้แก่ การไหว้ การกราบ การนบนอบออนน้อม การต้อนรับ การส ารวม
                       กิริยาให้สงบและความเออเฟอเอาใจใส่ ซึ่งเป็นอาการที่แสดงให้เห็น น้ าใจว่าตั้งใจยกย่อง เชิดชูให้สม
                                              ื้
                                           ื้
                       แก่ฐานะ ความเคารพนี้ เป็นคุณสมบัติของหมู่ชนที่เจริญ แม้พระสัมมาสัมพทธเจ้าผู้สูงสุดในโลกหา
                                                                                      ุ
                       บุคคลผู้มีคุณธรรมเสมอพระองค์ไม่ได้เลย พระองค์ก็ยังทรงเคารพในธรรมที่พระองค์ตรัสรู้แล้ว

                       (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฐายี)2542 : 119 - 120)
                                 2. ประเภทมารยาททางวาจา
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26