Page 25 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 25
ุ
แท้จริง ไม่ได้เกิดจากการเสแสร้งแกล้งท าซึ่งพระพทธศาสนาถือว่า การคิดค านึงด้วยใจ (มโนกรรม)
เป็นสิ่งส าคัญมาก เพราะถ้าความคิดมีพลังมากก็จะเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมทางกายและวาจา
ุ
ได้ เพราะฉะนั้น พระพทธเจ้าจึงมุ่งสอนให้คิดค านึงในเรื่องที่ดีงาม ที่เป็นกุศล ไม่คิดในแง่ร้ายต่อใคร
ดังนั้น เมื่อเราทราบว่าพระภิกษุเป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติถูกต้อง สมควรที่จะให้ความเคารพสักการะ เป็น
ุ
ผู้ที่มีคุณต่อพระพุทธศาสนาและศาสนิกชนอย่างมาก เป็นผู้สืบทอดและธ ารงพระพทธศาสนาให้ด ารง
ื
อยู่ยาวนานสืบไป เราจึงควรแสดงความเคารพท่านทางใจทางที่ดีที่สุดก็คอ การเคารพพระภิกษุด้วยใจ
ที่บริสุทธิ์ได้แก่ การระลึกถึงพระคุณของพระภิกษแต่ในส่วนที่ดี ตั้งใจที่จะน าค าสอนของท่านไปปฏิบัติ
ุ
รองลงมาได้แก่ การไม่คิดที่จะท าให้ท่านยุ่งยากเดือดร้อน คิดหาโอกาสที่จะสนับสนุนบ ารุงท่านด้วย
ปัจจัยสี่ หรือคิดที่จะสร้างสรรค์แต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือท่านเท่าที่โอกาสจะ
อ านวย เป็นต้น (กัลยาณมิตร. ม.ป.ป. : เว็บไซต์)
5. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
5.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2541: 34) ได้ให้ความหมายการเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่า เป็น
วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนได้เรียนรู้
ั
ี่
ร่วมกนเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกทมีความรู้ความสามารถแตกต่างกัน โดยที่แต่ละ
คนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการเรียนรู้และในความส าเร็จของกลุ่ม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น การแบ่งปันทรัพยากรการเรียนรู้ รวมทั้งการเป็นก าลังใจซึ่งกันและกัน คนที่เรียนเก่งจะ
ช่วยเหลือคนที่อ่อนกว่าสมาชิกในกลุ่ม ไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเองเท่านั้นหากแต่ต้อง
ื่
ร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพอนสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ความส าเร็จของแต่ละบุคคล คือ
ความส าเร็จของกลุ่ม
พมพนธ์ เดชะคุปต์ (2544: 142) ได้ให้ความหมาย การเรียนรู้แบบร่วมมือไว้ว่าเป็นการ
ิ
ั
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญของการเรียนรู้ นักเรียนอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ มี
กระบวนการท างานเป็นกลุ่มแบบทุกคนร่วมมือกัน นักเรียนทุกคนในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกน
ั
มีบทบาทที่ชัดเจนในการเรียน หรือการท ากิจกรรมอย่างเท่าเทียมกัน และหมุนเวียนบทบาทหน้าที่กน
ั
ภายในกลุ่มอย่างทั่วถึง มีปฏิสัมพนธ์ซึ่งกันและกัน ได้พฒนาทักษะความร่วมมือในการท างานกลุ่ม
ั
ั
นักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ตรวจสอบผลงานร่วมกันขณะเดียวกันก็ต้อง
ร่วมกันรับผิดชอบการเรียนในงานทุกขั้นตอนของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งนักเรียนจะบรรลุเป้าหมายของการ
เรียนรู้ได้ก็ต่อเมื่อสมาชิกทกคนในกลุ่มบรรลุเป้าหมายเช่นเดียวกัน ดังนั้นนักเรียนทุกคนต้องช่วยเหลือ
ุ
พึ่งพากัน เพื่อให้ทุกคนในกลุ่มประสบความส าเร็จและบรรลุเป้าหมายร่วมกัน