Page 29 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 29
การแข่งขัน และรวมคะแนนเป็ นกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนมากที่สุดจะเป็นฝ่ายชนะ นักการศึกษาที่คิด
เทคนิค STAD คือ Slavin
ชาตรี เกิดธรรม (2545 : 15) ได้กล่าวถึงเทคนิคการสอนแบบ STAD ว่าเป็นเทคนิค
ร่วมด้วยช่วยงานกลุ่มถูกพัฒนาโดย Robert Slavin และคณะในมหาวิทยาลัย John Hopkins
สุวิทย์ มูลค า และ อรทัย มูลค า (2545 : 170) ได้กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ไว้
ี
ว่าเป็นการเรียนรู้แบบร่วมมืออกรูปหนึ่งคล้ายกันกับเทคนิค TGT ที่แบ่งผู้เรียนที่ มีความสามารถ
ื่
แตกต่างกันออกเป็นกลุ่มเพอท างานร่วมกันกลุ่มละประมาณ 4-5 คน โดย ก าหนดให้สมาชิกกลุ่มของ
กลุ่มได้เรียนรู้ในเนื้อหาสาระที่ผู้สอนจัดเตรียมไว้แล้วท าการทดลอง ความรู้ คะแนนที่ได้จากการ
ทดสอบของสมาชิกแต่ละคนน าเอามาบวกเป็นคะแนนของทีม ผู้สอน จะต้องใช้เทคนิคการเสริมแรง
ื่
เช่น ให้รางวัล ค าชมเชย เป็นต้น ดังนั้น สมาชิกกลุ่มจะต้องมีการ ก าหนดเป้าหมายร่วมกัน เพอ
ความส าเร็จของกลุ่ม
สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD หมายถึง การเรียนที่จัดให้ผู้เรียนได้ เรียน
เป็นกลุ่มคละกันในระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ระดับสูง 1 คน ระดับปานกลาง 2 คน และ
ระดับออน 1 คน จุดประสงค์หลักคือช่วยให้นักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ ามี ผลสัมฤทธิ์
่
ทางการเรียนที่สูงขึ้นและมุ่งเน้นให้ผู้เรียนท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม
6.2 วัตถุประสงค์ (สุวิทย์ มูลค า และ อรทัย มูลค า. 2545 : 171 - 173)
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการทางสังคม เช่น ทักษะกระบวนการกลุ่ม
ทักษะการเป็นผู้น า และฝึกความรับผิดชอบ
6.3 องค์ประกอบส าคัญ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD มีองค์ประกอบส าคัญ ดังนี้
1. การเสนอเนื้อหา ผู้สอนทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้วและน าเสนอเนื้อหาสาระหรือ
ความคิดรวบยอดใหม่
2. การท างานเป็นทีมหรือกลุ่ม ผู้สอนจัดผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกัน จัดให้คละกัน
และชี้แจงให้ผู้เรียนทราบถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่มที่จะต้องช่วยและร่วมกันเรียนรู้ เพราะ
ผลการเรียนของสมาชิกแต่ละคนส่งผลต่อผลรวมของกลุ่ม
3. การทดสอบย่อย สมาชิกหรือผู้เรียนทุกคนท าแบบทดสอบย่อยเป็นรายบุคคลหลังจาก
เรียนรู้หรือท ากิจกรรมแล้ว