Page 32 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 32

6.5 ข้อดีและข้อจ ากัด (สุวิทย์ มูลค า และ อรทัย มูลค า. 2545 : 175)

                                 ข้อดี

                                   1. ผู้เรียนมีความเอาใจใส่รับผิดชอบตัวเองและกลุ่มร่วมกับสมาชิกอื่น
                                     2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้เรียนรู้ร่วมกัน

                                     3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้น า

                                     4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้ทักษะทางสังคมโดยตรง
                                     5. ผู้เรียนมีความตื่นเต้น สนุกสนานกับการเรียนรู้

                                 ข้อจ ากัด

                                     1. ถ้าผู้เรียนขาดความเอาใจใส่และความรับผิดชอบจะส่งผลให้ผลงานกลุ่มและการ
                       เรียน รู้ไม่ประสบความส าเร็จ

                                     2. เป็นวิธีการที่ผู้สอนจะต้องเตรียมการ ดูแลเอาใจใส่ในกระบวนการเรียนรู้ของ

                       ผู้เรียน อย่างใกล้ชิดจึงจะได้ผลดี
                                     3. ผู้สอนมีภาระงานมากขึ้น



                       7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                                ภาวศุทธิ ยศธร (2543 : บทคัดย่อ) ได้พฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้การสอนแบบ
                                                                ั
                       ร่วมมือกันเรียนรู้ตามวิธี STAD ด้วยบทเรียนเล่มเล็กในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี
                       ที่ 3 และการพฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนที่พฒนาขึ้น
                                    ั
                                                                                                  ั
                       ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเสนอบทเรียนต่อนักเรียนทั้งชั้น ประกอบด้วยขั้นน า ขั้นสอน (โดย

                       ใช้บทเรียนเล่มเล็ก) ขั้นสรุป ขั้นวัดผล  2) ขั้นศึกษากลุ่มย่อย โดยศึกษาจากบัตรค าสั่งบัตรเนื้อหา
                       บัตรกิจกรรม และบัตรเฉลย 3) ขั้นทดสอบย่อย เป็นการทดสอบเพอวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง
                                                                              ื่
                       สิ้นสุดแต่ละวงจร ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบดังกล่าวมีผลสัมฤทธิ์ทางการ

                       เรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้คือ ร้อยละ 70 และนักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น มีความ
                       รับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน



                                วราภรณ์ บรรติ (2543 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการ
                       ท างานกลุ่มในกลุ่มวิชาสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการสอน

                       แบบร่วมมอกันด้วยเทคนิค STAD ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมผู้เรียน ขั้นสอน ขั้นกิจกรรม
                               ื
                       กลุ่ม ขั้นทดสอบ ขั้นสรุป ประเมินผลและมอบรางวัล ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยการสอน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37