Page 36 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 36
ื่
1.4 ปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญ เพอให้ได้แผนการจัดการ
เรียนรู้ โดยใช้รูปแบบกลุ่มร่วมมือ (Cooperative Learning) เทคนิค STAD ที่มีความสมบูรณ์
2. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบ
ุ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มารยาทชาวพทธ มีขั้นตอนการสร้างและ
การตรวจสอบคุณภาพดังนี้
2.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน เรื่อง มารยาทชาวพุทธ จากเอกสาร ต ารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.2 วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และระดับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ก าหนดจ านวน
ข้อสอบที่ใช้วัดในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้
ุ
2.3 ด าเนินการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มารยาทชาวพทธ
ตามที่ก าหนดไว้
2.4 ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มารยาทชาว
ุ
พุทธ โดยน าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มารยาทชาวพทธ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน
ุ
3 คน ตรวจสอบ 1) ผู้เชี่ยวชาญด้านวิธีการสอน 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านพระพทธศาสนา 3) ผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการวัดผล ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และภาษา น ามาปรับปรุง แก้ไขตามค าแนะน า
แล้วน าไปให้ผู้เชี่ยวชาญได้ใช้ดุลพินิจเพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบ
ุ
2.5 ปรับปรุงแก้ไขแบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มารยาทชาวพทธ ให้มี
ความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และน าไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างต่อไป
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบแผนการทดลองที่ก าหนดไว้ ดังนี้ (P-A-O-R) 4
ขั้นตอนคือ ขั้นวางแผน (Plan) ขั้นปฏิบัติการ (Act) ขั้นสังเกตการณ์ (Observe) และขั้นสะท้อนผล
การปฏิบัติ (Reflect) เพื่อวางแผนการสอนโดยสรุปตามขั้นตอนดังนี้
1. ผู้วิจัยได้วางแผนการเรียนรู้ก่อนท าการสอนทุกครั้งทั้งหมดจ านวน 3 แผน สอนสัปดาห์ละ
1 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 3 ชั่วโมง เตรียมเนื้อเรื่องที่จะสอนให้กับนักเรียน ก าหนดหัวข้อที่จะให้นักเรียน
เรียนรู้และทดสอบ ก าหนดเกณฑ์การบันทึกพฤติกรรมการเรียนรู้และการประเมินผลการเรียนของ
นักเรียนในแต่ละครั้ง รวมถึงให้นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้ในชั่วโมงที่ 1 และหลังการ
เรียนรู้ในชั่วโมงที่ 3 คือชั่วโมงสุดท้ายของการเรียนรู้