Page 28 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 28

5. เป็นที่ปรึกษาของกลุ่มย่อย และคอยติดตามความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของกลุ่มและ
                       สมาชิกกลุ่ม

                                 6. ยกย่องเมื่อนักเรียนร่วมกันท างานเป็นกลุ่ม ให้รางวัล ค าชมเชยในลักษณะกลุ่ม

                                 7. ก าหนดว่าผู้เรียนควรท างานร่วมกันแบบกลุ่มนานเพียงใด


                              5.5 บทบาทผู้เรียน

                                 1. ไว้วางใจซึ่งกันและกันและพัฒนาทักษะการสื่อความหมาย
                                 2. ในการท ากิจกรรมการเรียนแต่ละครั้ง สมาชิกคนหนึ่งจะท าหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน

                       คนหนึ่งท าหน้าที่เลขานุการกลุ่ม ส่วนสมาชิกที่เหลือท าหน้าที่เป็นผู้ร่วมทีม สมาชิกทุกคนต้องได้รับ

                       มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบ
                                 3. ให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนสมาชิกกลุ่มทุกคน

                                                                ื่
                              4. รับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเองและเพอนๆ ในกลุ่มผู้เรียนจะร่วมกันท ากิจกรรม ก าหนด
                       เป้าหมายของกลุ่ม แลกเปลี่ยนความรู้และวัสดุอุปกรณ์ ให้กาลังใจซึ่งกันและกันดูแลกันในการ
                       ปฏิบัติงานตามหน้าที่และช่วยกันควบคุมเวลาในการท างาน



                       6. วิธีการสอนแบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD

                              6.1 การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD

                                 คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้แผนกวิจัย กรมวิชาการ (2544 : 63) ได้กล่าวถึง การ
                       จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ว่าหมายถึง การน ากิจกรรมการเรียนแบบ STAD เข้ามา ใช้ใน

                       กระบวนการเรียนการสอน ตามแนวการสอนตามคู่มือครูของสสวท. โดยจัดนักเรียน เป็นกลุ่มย่อย

                       กลุ่มละ 4 คน และให้มีจ านวนนักเรียนที่มีระดับความสามารถสูง ปานกลาง ต่ า เป็นอัตราส่วน 1 : 2 :
                       1 หลังจากนั้นจึงท าการสอน

                                 ธีระพงษ์ ฤทธิ์ทอง (2545 : 170) ได้กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ว่า

                                                          ี
                       เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมืออกรูปแบบหนึ่ง Slavin แห่งมหาวิทยาลัย John Hopkins
                       เป็นผู้พฒนาขึ้น เป็นเทคนิคการจัดกิจกรรมที่เหมาะกับการสอนเนื้อหาความรู้ ความเข้าใจ อาจใช้
                             ั
                       หนังสือเรียน หรือใบความรู้เป็นสื่อการเรียนรู้ของนักเรียน

                                 สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ (2545 : 38) ได้กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค
                       STAD ว่าเป็นเป็นเทคนิคแบ่งปันความส าเร็จมีการพฒนามาจากเทคนิคการจัดทีมแข่งขัน (TGT) แต่
                                                                  ั
                       จะเป็นการร่วมมือกันระหว่างสมาชิกในกลุ่ม โดยทุกคนจะต้องพฒนาความรู้ของตนเองในเรื่อง ที่
                                                                              ั
                       ผู้สอนก าหนด ซึ่งจะมีการช่วยเหลือแนะน าความรู้ให้แก่กัน มีการทดสอบความรู้เป็นรายบุคคล แทน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33