Page 23 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 23
ผะอบ โปษะกฤษณะ (2530 : 2) กล่าวถึงคุณค่าของมารยาทว่า คนไทยได้รับการยกย่อง
จากต่างชาติมาช้านานว่า เป็นผู้มีมารยาทอ่อนโยน นุ่มนวล น่ารัก บางคนในสมัยนี้คิดว่ามารยาทไทย
ื
นั้นล้าสมัย แต่ถ้าคิดให้ดีแล้วจะเห็นว่า ผู้ที่มีมารยาทที่ดีนั้นก็คอ ผู้ที่ปรับปรุงตนให้เหมาะกับเวลาและ
สถานที่ หรือกาลเทศะเป็นส าคัญ ฉะนั้น ผู้มีมารยาทก็คือผู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอประโยชน์ของผู้มี
มารยาทมีอยู่ 2 ประการ ดังนี้
1. เพื่อประโยชน์ของผู้ปฏิบัติ คือ
1.1 เป็นการเสริมบุคลิกลักษณะของตนเองให้เป็นผู้มีเสน่ห์ เป็นที่ชื่นชมนิยม หรือ
นับถือแก่ผู้ได้พบเห็นได้ติดต่อด้วย
1.2 ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติมีสุขภาพดี เพราะท่วงท่าที่เป็นมารยาทอนดีงามนั้น ท าให้
ั
ร่างกายมีความสมดุลไม่เป็นสาเหตุของโรคภัยในภายหลัง
ื่
่
ี
2. เพอประโยชน์แกส่วนรวม สังคมมความสงบสุข ท าให้ผู้ที่อยู่ในสังคมเดียวกัน ไม่ได้รับ
ความเดือดร้อน หรือ เพื่อป้องกันมิให้เกิดการกระทบกระทั่งกันขึ้น
มารยาทไทย เป็นเอกลักษณ์แห่งความเป็นไทย ผู้ที่ได้รับการฝึกฝนอบรมจิตใจมาเป็น
่
อย่างดี ก็จะแสดงออกให้เห็นถึงกิริยาอาการ ท่าทางต่าง ๆ ที่มีความงดงาม ออนช้อย นุ่มนวล
ละมุนละไม และสามารถแสดงออกได้ถูกกาลเทศะและเหมาะแก่กาลสมัยจนเป็นที่ปรากฏแก่สังคม
4.3 สาเหตุของการเกิดมารยาทชาวพุทธ
จากความหมายของมารยาทที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่า มารยาทเป็นสหธรรมที่ทุกคน
ื่
จะต้องยึดเป็นหลักประพฤติปฏิบัติ เพอปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ มารยาทเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต
เป็นมรดกทางวัฒนธรรม เป็นแบบแผนแห่งพฤติกรรม แบบแผนความคิด ความรู้และผลงานที่มนุษย์
ได้สร้างขึ้น เมื่อมนุษย์เกิดขึ้นมาในสังคมและได้อาศัยสังคมอยู่ร่วมกัน จ าเป็นที่จะต้องมีการติดต่อ
ั
สัมพนธ์กันตามกระบวนการของสัตว์สังคม จึงมีการจัดระเบียบทางสังคมเพอควบคุมความประพฤติ
ื่
ของสมาชิกให้อยู่ร่วมกัน โดยสันติภายใต้กฎเกณฑ์หรือระเบียบที่สังคมได้วางไว้เป็นบรรทัดฐาน เมื่อ
ื่
มนุษย์สามารถเข้าใจถึงกฎเกณฑ์ที่สังคมทั้งของตนและสังคมอนสร้างขึ้น แล้วความขัดแย้งต่าง ๆ ใน
การอยู่ร่วมกัน ลดน้อยลงไปตามล าดับ ความรู้สึกว่าวัฒนธรรมของตนดีหรือวิเศษกว่าผู้อื่นก็หมดไปใน
เรื่องมารยาทก็เช่นกัน ถ้าทุกสังคมเข้าใจเรื่องมารยาทของตนและของสังคมอนความเข้าใจซึ่งกันและ
ื่
ั
กันแม้ในสังคมเดียวกันแต่เป็นคนละยุคคนละสมัยก็สามารถ เข้าใจอยู่ร่วมกนได้ สิ่งใดที่เก่าล้าสมัย ถ้า
ื่
จ าเป็นก็ต้องเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับสภาพสังคม แต่ถ้าสิ่งใดดีอยู่แล้วควรรักษาไว้เพอเป็นมรดกแก่
่
ลูกหลาน สิ่งต่างๆ เหล่านี้สามารถแสดงให้เป็นที่ประจักษ์แกสายตาชาวโลกได้ เช่น คนไทยมีการแต่ง
กายแบบของไทย และมีระเบียบประเพณี วัฒนธรรมเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าเป็นคนไทย วัฒนธรรม
ของไทยที่เป็นสัญลักษณ์ซึ่งชนต่างชาติรู้จักกันดี คือ การไหว้ เป็นการทักทายปราศรัยและแสดง