Page 24 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 24
่
คารวะต่อกันตามสมควรแก่วัย ทั้งในเวลาพบหรือจะจากกัน การไหว้นี้คนไทยท าได้นิ่มนวลออนโยน
ื่
ื่
ชนชาติอนท าตามได้ยาก แม้การแสดงความเคารพในแบบอนๆ ก็ตามคนไทยจะท าได้คล่องแคล้ว
ั
แนบเนียนจนเป็นที่สังเกตว่าเป็นคนไทย (วิชัย สุธีรชานนท์. 2538 : บทน า) อนเป็นผลสืบเนื่องมาจาก
ุ
่
การที่ชาติไทยเป็นดินแดนแห่งพระพทธศาสนานั่นเองที่สอนให้ผู้ที่นับถือมีความสุภาพออนน้อมถ่อม
ตน มีสัมมาคารวะมีความกตัญญูกตเวทีและรู้จักปรับตัวให้เข้ากับบุคคลอื่นได้งาย
่
ดังนั้น ความมงหมายของการมีมารยาท เพอต้องการให้บุคคลในสังคมสามารถอยู่ร่วมกน
ั
ุ่
ื่
ได้อย่างปกติและเป็นการป้องกันการกระทบกระทั่งซึ่งกันและกันด้วยการแสดงออกทางกาย วาจา
และใจ
1. การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุ ทางกาย วาจา และทางใจพทธศาสนิกชนพง
ึ
ุ
ปฏิบัติตนให้เหมาะสม สงเคราะห์และบูชาพระภิกษุตามควรแก่กาลเทศะ ทั้งนี้ เพราะพระภิกษุเป็น
สาวกของพระบรมศาสนา ถือว่าผู้มีความประพฤติดีและปฏิบัติชอบทั้งต่อพระพทธศาสนาและต่อ
ุ
สังคม การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา และระเบียบประเพณี
ที่เป็นแบบแผนสืบต่อกันมา รวมทั้งช่วยสิ่งเสริมพระภิกษุให้ประกอบกิจทางพระพทธศาสนา ซึ่งถือว่า
ุ
ุ
ุ
เป็นการเผยแผ่พระพทธศาสนา และเป็นผู้สืบทอดพระพทธศาสนาให้ยั่งยืนนาน ในอนที่จะก่อ
ั
ประโยชน์ให้แก่สังคม และมนุษยชาติโดยรวมสืบต่อไป
1.1 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุทางกายการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ
พระภิกษุทางกาย เป็นการแสดงความเคารพต่อพระภิกษุซึ่งแสดงถึงความเคารพออนน้อม แสดงถึง
่
มารยาทที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นระเบียบประเพณี การปฏิบัติตนที่เหมาะสมทางกาย เช่น การลุกขึ้น
ต้อนรับ และยกมือไหว้ เมื่อพระภิกษุมาถึงยังบริเวณพธีนั้น ๆ การประนมมือฟังพระธรรมเทศนา การ
ิ
เจริญพระพุทธมนต์ การฟังสวดอภิธรรม หรือขณะที่พูดกับพระภิกษ เป็นต้น การกราบแบบเบญจางค
ุ
ประดิษฐิ์ การถวายสิ่งของให้พระสงฆ์ด้วยการประเคน การเดินผ่านพระสงฆ์ การยืนต้อนรับพระสงฆ์
การนั่งในที่เหมาะสมซึ่งจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามแบบแผน เป็นต้น นอกจากนั้นจะต้องไม่แสดง
กิริยาที่ไม่สุภาพอนเป็นการไม่เคารพต่อพระภิกษุ ไม่แสดงกิริยาดูหมิ่นเหยียดหยามต่อพระภิกษุ ไม่
ั
แสดงกิริยาเป็นกันเองสนิทสนมกับพระภิกษุเกินควรแม้จะเคยสนิทสนมกันมาก่อนก็ตาม
1.2 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษุทางวาจาการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ
พระภิกษุทางวาจา เป็นการแสดงความเคารพต่อพระภิกษุด้วยวาจาทั้งต่อหน้าและลับหลัง เช่น การ
ู
ู
พดจากกับพระภิกษุด้วยค าสุภาพนุ่มนวลใช้ค าศัพท์เฉพาะที่พดกับพระภิกษุให้อย่างถูกต้อง นั่นคือใช้
สรรพนามแทนตนเองและแทนพระสงฆ์ในระดับต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ไม่พดล้อเล่น ไม่พดค าหยาบ
ู
ู
หรือพูดดูหมิ่นพระภิกษ และควรเป็นเรื่องที่สมควรหรือเหมาะสมที่จะพูดกับพระสงฆ์ เป็นต้น
ุ
1.3 การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระภิกษทางใจการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ
ุ
พระภิกษุทางใจ เป็นการแสดงความเคารพต่อพระภิกษุด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ ด้วยความเคารพอย่าง