Page 26 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
P. 26

5.2 องค์ประกอบส าคัญของการเรียนแบบร่วมมือ
                                         ึ่
                                 1. การพงพาอาศัยกัน (Positive Interdependence) สมาชิกทุกคนมีหน้าที่ และความ
                       รับผิดชอบเท่าเทียมกันหมด สมาชิกแต่ละคนรู้หน้าที่ของตนเองว่า ต้องท ากิจกรรมใดบ้างในการเรียน

                       ครั้งนั้นๆ และต้องรับผิดชอบในกิจกรรมนั้นๆ เสมอ สมาชิกทุกคนตระหนักดีว่าความส าเร็จของกลุ่ม
                       ขึ้นอยู่กับสมาชิกภายในกลุ่ม

                                              ั
                                 2. การปฏิสัมพนธ์กันอย่างใกล้ชิด (Face to Face Interaction) การจัดการเรียนการ
                                                                                   ื่
                       สอนแบบร่วมมือนี้ นักเรียนจะนั่งด้วยกันเป็นกลุ่มหันหน้าเข้าหากันเพอจะได้ซักถาม ตอบค าถาม
                                                                                                        ื่
                       อธิบาย โต้ตอบ ซึ่งกันและกัน ให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการท างาน ยอมรับเหตุผลของผู้อน
                       โต้เถียงกันด้วยเหตุผล รู้จักสนับสนุนและชมเชยผู้อน เป็นการฝึกทักษะพนฐานในการอยู่ร่วมกันใน
                                                                  ื่
                                                                                    ื้
                       สังคม
                                 3. หน้าที่รับผิดชอบของแต่ละคน (Individual Accountability) สมาชิกแต่ละคนใน

                       กลุ่มมีหน้าที่ต้องรับผิดชอบ และจะต้องท างานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถเสมอ เช่น

                                     3.1 สมาชิกต้องตอบค าถาม และอธิบายให้แก่เพอนสมาชิกด้วยกันด้วยความเต็มใจ
                                                                             ื่
                       เสมอ

                                     3.2 สมาชิกแต่ละคนจะต้องสนับสนุน คอยให้ก าลังใจแก่เพื่อนสมาชิกในกลุ่ม

                                     3.3 สมาชิกแต่ละคนรู้ว่า ผลงานของกลุ่มจะส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีขึ้นอยู่กับความ
                       ร่วมมือและความรับผิดชอบของสมาชิกทุกคน

                                 4. ทักษะทางสังคม (Social Skills) นักเรียนบางคนไม่มีทักษะในการท างานร่วมกันเป็น

                                               ั
                                                                                                        ื่
                       กลุ่ม เนื่องจากไม่ได้รับการพฒนาในเรื่องนี้มาก่อน อาจจะมีปัญหาบ้างในการท างานร่วมกับผู้อน
                       ดังนั้น ก่อนที่จะใช้การสอนแบบนี้ครูควรวางพื้นฐานนักเรียนให้มีทักษะในการท างานกลุ่ม ดังนี้
                                     4.1 ทักษะการจัดกลุ่ม ฝึกการจัดกลุ่มอย่างรวดเร็ว และท างานนกลุ่ม โดยไม่รบกวน

                       กลุ่มอื่น
                                     4.2 ทักษะการท างานกลุ่ม เป็นทักษะเกี่ยวกับการท างานในกลุ่มให้เกิดผลดีมีทักษะ

                       เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงความคิด การแสดงความคิดเห็น อธิบาย โต้ตอบ แบ่งปันอปกรณ์ และสร้าง
                                                                                            ุ
                       บรรยากาศที่ดีในการท างานร่วมกัน
                                                                               ั
                                     4.3 ทักษะการสร้างความรู้ เป็นทักษะที่ใช้ในการพฒนาความรู้ ความเข้าใจเป็นการ
                                        ิ
                       กระตุ้นให้เกิดความคดตามล าดับขั้นอย่างมีเหตุผล
                                 5. กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) หลังจากที่ท างานร่วมกันเป็นกลุ่มได้ ระยะ
                                                                                      ื่
                       หนึ่ง สมาชิกแต่ละคนจะประเมินการท างานของตนเองและผลงานกลุ่ม เพอที่จะรู้ถึง ข้อบกพร่อง
                       และสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไข และวางเป้าหมายในการทางานกลุ่มครั้งต่อไปให้ดี และ มีประสิทธิภาพ
                       มากขึ้นกว่าเดิม
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31