Page 22 - รายงาน PLCกลุ่มสาระการงาน ปี 62
P. 22

ขั้นตอนที่ 6  สรุปผลและรายงาน  ในการประชุม ครั้งที่   6   เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2562

               ชื่อกลุ่มสร้างเสริมพัฒนาการงานอาชีพด้วย PLC
                     เริ่มด าเนินการเวลา 15.05 น.  เสร็จสิ้นเวลา 16.05 น.  รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 1 ชั่วโมง

                         ั้
               กิจกรรมครงนี้อยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study)
                                                   ่
               ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรุงใหม (Reflect & Redesign
               สมาชิกทเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
                       ี่

                  ท  ี่            ชื่อ-สกุล                    บทบาท                   ลายมือชื่อ

                  1    นางวรรณี  ดีประชา               ผู้อ านวยความสะดวก

                  2    นางดาราวรรณ  เอกพร              หัวหน้ากลุ่มสาระการงานฯ
                  3    นางสาววีรินทร์  ไคบุตร          ครูผู้ร่วมเรียนรู้

                  4    นางธนิดา  ใจจัน                 ครูผู้ร่วมเรียนรู้



                   1.  ประเด็นปัญหา/ประเด็นการพัฒนา

                       จากปัญหาทสาคญทสดของกลม คอ ปัญหาผเรียนขาดความสนใจในการเข้าเรียนรู้ในวิชาการงาน
                                 ี่
                                                 ุ่
                                         ุ
                                                             ู้
                                                    ื
                                     ั

                                        ี่
                                                                     ื้
                                                                  ิ
                         ี
                                             ์
                                                                                                      ู้
               พื้นฐานอาชพเนื่องจากสถานการณการแพร่ระบาดของโรคตดเชอไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ครูผสอน
               และสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แล้วน าไปใช้จัดกิจกรรมให้แก่ผเรียน ใน
                                                                                                  ู้
                                                                                                    ั
               รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์จะปลอดภัยจากโรคโควิด-19 เพราะนักเรียนและครูไม่ตองไปรวมตวกันท    ี่
                                                                                           ้
               โรงเรียน
                   2. สาเหตุของปัญหา
                                                                                              ั
                       เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) มีเสียงสะทอนกลบมาทแสดงให้
                                                                                        ้
                                                                                                   ี่
                                             ่
               เห็นถึง “ความไม่พร้อม” ของทกฝาย ไม่ว่าจะเป็นตวนักเรียน ผปกครอง โรงเรียน หรือแม้กระทงระบบ
                                                                       ู้
                                                             ั
                                           ุ
                                                                                                   ั่
               การศึกษาของไทย ที่จะน าไปสู่ปัญหาอื่น ๆ โดยเฉพาะเรื่องของอุปกรณ์และเครื่องมือส าหรับการเรียนการสอน
               ออนไลน์ เช่น คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อป หรือแท็บเล็ต รวมถึงโทรทัศน์ที่สามารถรับสัญญาณดาวเทยมได ซึ่งไม่ใช ่
                                                                                              ี
                                                                                                  ้
                                                             ู้
                                                                           ี่
                                                                                ั
                                                                      ุ
                        ุ
               นักเรียนทกคนจะมีอุปกรณเหลานี้อยู่ทบ้านและไม่ใชผปกครองทกคนทมีก าลงทรัพย์เพียงพอในการจดการ
                                                ี่
                                          ่
                                      ์
                                                            ่
                                                                                                     ั
                                                                                                ุ
                                                                                        ้
                                       ื่
                                          ่
                         ่
                                 ี่
               อุปกรณ์เหลานี้ขณะทการเชอมตออินเตอร์เน็ตและระบบไวไฟ ซึ่งในประเทศไทยก็ไม่ไดครอบคลมเหมือนใน
                                                                                                  ุ
               ต่างประเทศท าให้มีการเว้นระยะห่างทางสงคม มีการแบ่งกลมนักเรียน แบ่งเวลาเรียนจงเป็นสาเหตให้ผเรียน
                                                                                                     ู้
                                                  ั
                                                                 ุ่
                                                                                        ึ
               ขาดความสนใจในการเข้าเรียนรู้ในวิชาการงานพื้นฐานอาชีพ
                  3. ความรู้หรือหลักการที่น ามาประยุกต์ใช้/แนวทางการแก้ไขปัญหา
                      ชุมชนแห่งการเรียนรู้ร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้งแนะน าวิธีการ
                                                                                        ่
               แก้ปัญหาการเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนตางไปจากรูปแบบเดม
                                                                                                        ิ
               การเรียนการสอนแบบนี้ อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการน าเอาสอการ
                                                                                                     ื่
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27