Page 4 - แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี 2560
P. 4
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. สื่อการเรียนรู้ / 10. การวัดและ
แหล่งการเรียนรู้ ประเมินผล การเรียนรู้ /
หมายเหตุ
ขั้นที่ 3 ปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ
1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษาวิธีท าการทดลองจากกิจกรรมที่
4.1 เรื่อง การแยกสารเนื้อผสมในใบงานที่ 20
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นก่อนท ากิจกรรมการทดลอง โดย
่
การตอบค าถามกอนท ากิจกรรมทดลอง ดังนี้
2.1 ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร (การแยกสารเนื้อ
ผสม มีวิธีการอย่างไร)
2.2 ลักษณะภายนอกของผงถ่าน และเกลือแกงเป็น
อย่างไร (ผงถ่านเป็นของแข็งผงละเอียดสีด า ไม่ละลายน้ า ส่วน
ี
เกลือแกงเป็นผงสขาว ทรงสี่เหลี่ยม ละลายน้ าได้ดี)
2.3 มีข้อควรระวังอย่างไรในการกรองสารด้วยกระดาษ
กรอง (ใช้น้ าสะอาดราดบนกระดาษกรองให้เปียกก่อนกรอง และไม่
ใช้แท่งแก้วคนสารในกระดาษกรอง)
2.4 นักเรียนคิดว่าเมื่อน าสารหมายเลข 1 ผสมน้ าแล้ว
กรองด้วยกระดาษกรอง ผลจะเป็นอย่างไร (สารหมายเลข 1 ส่วนที่
เป็นผงสีด าติดบนกระดาษกรอง)
2.5 ถ้าน าของเหลวที่ได้จากการกรองมาต้มจนแห้ง ผล
จะเป็นอย่างไร (มีสารสีขาวติดที่ก้นถ้วยกระเบื้อง) จากนั้นนักเรียน
ตอบค าถามก่อนท ากิจกรรมในใบงานที่ 20
3. นักเรียนลงมือท ากิจกรรมการทดลองตามขั้นตอนที่ก าหนดในใบ
งานที่ 20 เรื่อง การแยกสารเนื้อผสม และบันทึกผลการท ากิจกรรมใน
ใบงานที่ 20
คาบที่ 2
ู
ขั้นที่ 1 รวบรวมข้อมล
1. นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ (คุณค่าพระวรสาร ข้อ3 การ -แบบเรียน -สังเกตพฤติกรรมของ
ไตร่ตรอง) -ค าถาม นักเรียนขณะท างาน
1.1 วิธีการแยกสารเนื้อผสมโดยวิธีการกรอง การระเหิด -แผนผังความคิด ร่วมกัน
และการใช้อานาจแม่เหล็กแล้วยังมีวิธีใดอีกบ้าง (การแยกสารด้วยวิธีการ -สังเกตการตอบค าถาม
ตกตะกอน การใช้กรวยแยก การสกัดด้วยตัวท าละลาย และการหยิบ ของนักเรียนในชั้นเรียน
ออกหรือเขี่ยออก)
-ความถูกต้องของชิ้นงาน