Page 5 - หลักสิทธิมนุษย์ชน l831002
P. 5

หรือไม่  เช่น  เรื่องของชั่วโมงการท างานของครูบทบาทหลักในฐานะครูที่ถูกบิดเบือนด้วย

               ภาระหน้าที่เสริมอื่นๆจากโรงเรียน  ซึ่งส่งผลกระทบต่อความเป็นครูที่มีปรัชญาที่ส าคัญคือการ

               สร้างคนให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของสังคม  นอกจากนี้การใช้ความอาวุโสของครูที่ปฏิบัติต่อ

               เด็ก   ครูจ านวนไม่น้อยที่ใช้สถานภาพและอ านาจที่แฝงเร้นในความเป็นผู้ใหญ่ของตนไปในทางที่


               ควบคุมมากกว่าที่จะเอื้อให้เกิดการแสดงออกซึ่งความมั่นใจ  ความกล้า  ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

               ของเด็ก   บ่อยครั้งครูจะกลายเป็นผู้พิพากษาที่ตัดสินเรื่องผิดหรือถูก  ทั้งๆที่ในสายตาของเด็ก

                                       ็
               ไม่ใช่เรื่องผิดถูก  แต่เปนการลองท าและการเรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ของชีวิต    หลายๆครั้งที่ครู
               ได้ใช้อคติของตนในการเลือกปฏิบัติต่อเด็ก  และที่พบเห็นบ่อยคือ  การที่ครูใช้ค าพูดที่ไม่


               เหมาะสมต่อเด็ก  เพื่อสร้างความรู้สึกละอาย  สูญเสียความมั่นใจของเด็ก   หรือเป็นที่รังเกียจจาก

               เพื่อนร่วมชั้น   ซึ่งในประเด็นนี้  วัฒนธรรมที่ดีงามในเรื่องของความอาวุโส   กลายเป็นเรื่อที่

               ละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยตรง    ซึ่งเด็กเป็นกลุ่มเป้าหมายแรกที่มักจะถูกกระท า  โดยที่เด็กเองยัง


               ไม่ทราบถึงความเท่าเทียมกันในเรื่องของศักดิ์ศรี   อันเป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่ก าเนิด   อันท าให้เด็กมี

               ความเท่าเทียมกับผู้ใหญ่  และต้องไม่ถูกกระท า   ถูกเลือกปฏิบัติ  หรือถูกละเมิดจากสภาพที่เขา

               เป็นเด็กอยู่

               การละเมิดสิทธิมนุษยชนกับเด็กและเยาวชน


                       การละเมิดสิทธิด้านเด็ก เกิดขึ้นกับกลุ่มเด็ก และเยาวชนประเภทต่างๆ แตกต่างกันไปได้แก่

                 1 .  การถูกละเมิด และอันเนื่องจากเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ไม่ได้รับการ

               คุ้มครอง ที่จะได้รับการดูแล การรักษา ฟื้นฟูที่พึงได้อย่างเหมาะสม หมายถึงเด็ก ที่มีความ

               แตกต่างจากเด็กปกติ ซึ่งยังไม่ได้รับการบริการรวมทั้งแก้ไขถึงบริการขั้นพื้นฐานต่างๆ จากรัฐ


               เช่น  การศึกษา สาธารณูปโภค  รวมทั้งไม่มีหลักประกันที่กลไก  และนโยบายต่างๆ และส่งผล

               ในทางปฏิบัติจริง  เช่น เด็กพิการด้านต่าง ๆ เด็กที่มีปัญหาเรื่องการเรียนรู้ เด็กปัญญาเลิศ เด็ก

               ก าพร้า เด็กที่บิดามารดาต้องโทษจ าคุก เด็กยากจน ครอบครัวมีรายได้ต่ ากว่าเส้นความยากจน


               เป็นต้น เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาดูจาการที่ครอบครัวหรือผู้ดูแลโดยล าพังไม่สามารถดูแลเด็ก

               เหล่านี้ให้สอดคล้องกับสภาพของเด็กได้ จ าเป็นต้องได้รับการสนับสนุนความช่วยเหลือจาก

               หน่วยงานของรัฐ หรือ องค์กรเอกชน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10