Page 36 - สปาเพื่อสุขภาพ
P. 36
24
3.8 ดนตรีบ าบัด
สปาบางแห่งเน้นการเปิดเพลงที่ฟงแล้วรู้สึกผ่อนคลาย เพลงคลาสสิก ไลท์มิวสิค เพลงไทย
ั
ื้
ู
ื่
เดิม เพลงกลุ่มนี้จะช่วยสร้างจินตภาพเพอการผ่อนคลายฟนฟและบ้าบัดรักษาโรค ท้าให้เกิดสมาธิ
เพราะดนตรีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ การท้างานของสมอง ท้าให้เกิดการ
ั
ั
เปลี่ยนแปลงของอตราการหายใจ อตราการเต้นของชีพจร ความดันโลหิต การตอบสนองของม่านตา
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ และการไหลเวียนของเลือด จึงมีการน้าดนตรีมาประยุกต์ใช้ในการรักษา
โรคภัยไข้เจ็บทั้งร่างกายและจิตใจ
ดนตรีบ้าบัดสามารถน้ามาใช้ประโยชน์ได้หลากหลายรูปแบบ ทั้งในเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และ
ื่
ผู้สูงอายุ ตามเป้าหมายเพอตอบสนองความจ้าเป็นที่แตกต่างกันไปทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เช่น
ั
ปัญหาบกพร่องของพัฒนาการ สติปัญญาและการเรียนรู้ โรคซึมเศร้า โรคอลไซเมอร์ การบาดเจ็บทาง
ิ
ื่
สมอง ความพการทางร่างกาย อาการเจ็บปวด และภาวะอนๆ (“องค์ประกอบของสปาเพอสุขภาพ”,
ื่
ม.ป.ป. : ออนไลน์)
จุดประสงค์ของการน้าดนตรีมาใช้ ก็เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจจากความเจ็บปวด ไปสู่ความสุข
สบายเพลิดเพลิน เนื่องจากดนตรีที่เลือกสรรแล้ว โดยเฉพาะจังหวะ ความเร็ว-ช้า ระดับของเสียงและ
ิ
ั
ความดังจะมีอทธิพล ท้าให้เกิดการผ่อนคลาย ทางร่างกาย จิตใจ อนมีผลท้าให้ความวิตกกังวล ความ
กลัวลดลงและยังสามารถปิดกั้นวงจรของการรับรู้ความเจ็บปวด ท้าให้ความเจ็บปวดลดลงได้ และ
ิ่
ดนตรียังเพมแรงจูงใจท้าให้อยากเคลื่อนไหว ให้เกิดผลดีในผู้ป่วยที่จ้าเป็นต้องมี early ambulation
เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากความเจ็บปวด ท้าให้จ้ากัดความเคลื่อนไหว ในการน้าดนตรีมาใช้
ลดความเจ็บปวดนี้จ้าเป็นต้องใช้ร่วมกบ Relaxation technique โดยเฉพาะจะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อน
ั
คลาย มีความสุขสบายมากขึ้น แสดงออกต่อผู้รักษาด้วยดี มีความสัมพนธ์ที่ดีกับทีมงานผู้รักษาเป็น
ั
การปรับสภาพอารมณ์และพฤติกรรมไปใน ด้านดีส่งผลให้การรักษาประสบความส้าเร็จยิ่งขึ้น
วิธีการทางดนตรีบ้าบัดมีหลายวิธี อาทิ เช่น
– การฟังดนตรี
– การร้อง
– การเล่นดนตรี
– การเคลื่อนไหวให้สอดคล้องกับดนตรี
การฟังดนตรี เป็นวิธีที่นิยมมากที่ สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่ท้าให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย ผ่อนคลายง่าย
ที่สุด โดยให้ฟังจากแผ่นเสียง เทป วิทยุ หรือชมการแสดงคอนเสิร์ต โดยจัดให้ฟังในเวลาที่ยาลดความ
เจ็บปวดก้าลังออกฤทธิ์ และใช้เทคนิคการผ่อนคลายร่วมด้วย เวลาที่ใช้ในการฟัง หรือจ้านวนครั้งที่ฟง ั
ในแต่ละวันขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการรักษา และความพร้อมของเจ้าหน้าที่และผู้ป่วย เช่นอาจให้ฟง
ั
ั
ตามอาการหรือฟงเป็น Background เบาๆเกือบทั้งวัน, Herth (1978) จัดดนตรีให้ผู้ป่วยฟง 5 นาที
ั
ก่อนที่จะมี activity ที่จะกอให้เกิดความเจ็บปวด, Zimmerman และคณะ (1989) จัดให้ฟังดนตรีลด
่