Page 16 - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมการโรงแรม
P. 16

2







                                                                     ์
                       1.2 พนักงำนรับผิดชอบในกำรบริหำรทรัพยำกรมนุษย
                                1.2.1 ผู้อ านวยการแผนกทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources Director)
                       ก าหนดกลยุทธ์และวางแผนงานทรัพยากรบุคคล (HR Strategy) วางแผนอัตราก าลังคน (Manpower

                                                                                                     ั
                       Planning) ให้เหมาะสมกับโครงสร้างองค์กรและเงินงบประมาณรวมทั้งวางกลยุทธ์แผนการพฒนา
                                                                    ั
                       องค์กร (Organization Development)จัดท าแผนพฒนาศักยภาพบุคลากร บริหารจัดการการ
                                   ั
                       ฝึกอบรมและพฒนา (Training  and Development) รวมทั้งจัดท า Competency ที่เหมาะสมกับ
                       ต าแหน่งงานก าหนดกลยุทธ์ และวางแผนงานบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Management)

                                1.2.2 ผู้ช่วยผู้อ ำนวยกำรแผนกทรัพยำกรมนุษย (Assistant Human Resources Director)
                                                                    ์
                       ปฏิบัติงานในฐานะผู้ช่วยผู้อ านวยการฝ่ายบริหารของส่วนงาน มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการช่วย

                                                                   ื่
                       วางแผนงานบริหารทรัพยากรบุคคลบริหารทรัพยากรอน  และงบประมาณ โดยก ากับความรับผิดขอบ
                                                          ั
                       กลั่นกรอง ตรวจสอบ แนะน า ปรับปรุง พฒนา แก้ไข ตัดสินใจ แก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวของ
                       ส่วนงาน มีหน้าที่บังคับบัญชาบุคลากรสายปฏิบัติการในฝ่ายบริหารของส่วนงาน รวมถึงความ

                       รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ตามต าเหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง และปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย


                       1.3 หน้ำที่ของส่วนงำนในกำรบริหำรทรัพยำกรมนุษย  ์
                                1.3.1 ส่วนงานด้านการฝึกอบรมและพัฒนา

                       การฝึกฝนอบรม (Job Training) ส าหรับพนักงานนั้นเป็นสิ่งจ าเป็นอย่างยิ่ง เพราะกระบวนการนี้จะ
                       ท าให้พนักงานเกิดความเข้าใจในการท างาน ปฎิบัติงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ หากไม่มี
                                                                                     ั
                       การฝึกฝนอบรมเลยอาจเกิดผลเสียขึ้นต่องานได้เช่นกัน และเกิดผลกระทบอนใหญ่หลวงต่อองค์กรใน
                                                        ิ่
                                                                  ิ่
                                                               ื่
                       ที่สุด ในขณะเดียวกันการฝึกฝนอบรมเพมเติมเพอเพมศักยภาพให้กับพนักงานได้มีการพฒนาตัวเอง
                                                                                                ั
                       อยู่เสมอนั้นก็มีความจ าเป็นเช่นกัน นอกจากพนักงานจะมีประสิทธิภาพเพมขึ้นแล้ว องค์กรก็จะมี
                                                                                      ิ่
                       ศักยภาพเพมขึ้นด้วย และหน้าที่ในการดูแลการฝึกฝนอบรมต่างๆ นั้นถือเป็นภาระกิจส าคัญของฝ่าย
                                ิ่
                       ทรัพยากรบุคคล (HR) ที่จะไม่หยุดนิ่งในการหยุดพัฒนาบุคลากรตลอดจนองค์กรด้วยเช่นกัน
                              1.3.2 ส่วนงานด้านธุรการบุคคล
                       งานฝ่ายธุรการ เป็นงานที่มีขอบข่าย และหน้าที่ความรับผิดชอบของงานที่ค่อนข้างกว้าง ผู้ที่ท างาน
                       ธุรการสามารถเข้าไปช่วยเหลืองานในฝ่ายอน ๆ ได้ เช่น สามารถเข้าไปช่วยงานของฝ่ายการบริหาร
                                                           ื่
                       ทรัพยากรมนุษย์ในด้านดูแลด้านเอกสาร หรือ ประสานงานกับพนักงาน เป็นต้น ขอบข่ายงานของ

                       ฝ่ายธุรการจึงอยู่ที่ว่าต้องไปสังกัดอยู่กับฝ่ายไหน แต่โดยรวมแล้ว งานธุรการจะเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับ
                       การดูแลงานเอกสารต่าง ๆ การติดต่อประสานงานภายใน และนอกองค์กร การจัดเก็บ และค้นหา
                       เอกสาร การจัดเตรียมการประชุม เป็นต้น
                              1.3.3 ส่วนงานด้านรักษาความปลอดภัย
                       กฎหมาย PDPA หรือพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ก าหนดให้ธุรกิจและ

                       องค์กรมีฐานะเป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) ซึ่งมีหน้าที่ต่อเจ้าของข้อมูล
                       ส่วนบุคคล ซึ่งอาจเป็นลูกค้า พนักงานในองค์กร หรือคู่ค้า ที่ภาคธุรกิจจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล
                       ไว้ และน าข้อมูลส่วนบุคคลที่ขอความยินยอม (Consent) จากเจ้าของข้อมูลไปใช้ ตัวอย่างเช่น
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21