Page 21 - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมการโรงแรม
P. 21

6







                                                                                            ื่
                       ต าแหน่งงานในระดับปฏิบัติการแผนกทรัพยากรมนุษย์จะต้องท าการควบคุมเพอให้เป็นไปตาม
                       นโยบายและการวางแผนก าลังทรัพยากรมนุษย์ของโรงแรม
                              2.5.3 ด้านจ านวนแรงงานที่ต้องการ แผนกทรัพยากรมนุษย์จะต้องมีการควบคุมจ านวน
                                ่
                       พนักงานไมให้มีมากเกนความจ าเป็น จะต้องมีการก าหนดให้แน่นอนว่ามีความจ าเป็นต้องจ้างพนักงาน
                                         ิ
                       จ านวนเท่าไร ต าแหน่งอะไร กี่ต าแหน่งและต้องแยกเป็นแต่ละแผนกให้ชัดเจน

                       2.6 กำรวิเครำะห์งำนในธุรกิจโรงแรม
                              กระบวนการในการวิเคราะห์งาน เริ่มตั้งแต่การเก็บข้อมูลเกี่ยวกับงาน ลักษณะของงาน

                       รวมทั้งระบุขอบเขตของงานที่พนักงานต้องปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ที่โรงแรมได้วางไว้ เช่น งานใน
                       แผนกบริการอาหารและเครื่องดื่ม ต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการอย่างไร มีความจ าเป็นต้อง
                       รับการฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงานจริงหรือไม่ ระยะเวลาที่เหมาะสมในการฝึกอบรม ผู้ปฏิบัติงานใน
                       แผนกการเงินและบัญชีจะต้องจบการศึกษาสาขาใดจึงสามารถท าหน้าที่ดูแลงบการเงินของโรงแรม

                                         ิ
                       ดูแลรายรับรายจ่าย พจารณาจัดสรรและอนุมัติงบประมาณให้แก่ฝ่ายต่างๆภายในโรงแรม อกทั้งผู้
                                                                                                    ี
                       วิเคราะห์งานจะต้องเข้าใจถึงการประสานงานและการติดต่อสื่อสารระหว่างแผนก เช่น แผนกแม่บ้าน
                       จะต้องประสานงานกับแผนกต้อนรับส่วนหน้าในเรื่องการให้บริการห้องพกแก่แขก เช่น การแจ้ง
                                                                                      ั
                                  ั
                                                                                                ั
                       สถานะห้องพก การท าความสะอาดห้องพกเพอให้แผนกต้อนรับส่วนหน้าจัดห้องพกได้ถูกต้อง
                                                               ื่
                                                            ั
                       เหมาะสมซึ่งรายละเอยดของงานแต่ละแผนก แต่ละฝ่ายตลอดจนระดับความส าคัญของงาน
                                          ี
                       ในแต่ละต าแหน่ง ผู้วิเคราะห์งานสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้จากแหล่งต่างๆ ดังนี้
                                                                                                   ี
                              2.6.1 สมุดบันทึกประจ าวัน พนักงานที่ปฏิบัติงานจะต้องเขียนบันทึกรายละเอยดการ
                                                                             ื่
                       ปฏิบัติงานในแต่ละวันอย่างละเอียด ลงในสมุดบันทึกประจ าวัน เพอน าข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์งาน
                                                                                                   ื่
                       ซึ่งหากพนักงานไม่เข้าใจวัตถุประสงค์จะเกิดความเบื่อหน่าย เนื่องจากต้องแบ่งเวลางานเพอบันทึก
                                                            ี
                       รายละเอยดการปฏิบัติงานในแต่ละวัน อกทั้งพนักงานบางคนมีข้อจ ากัดในการเขียนอธิบาย
                               ี
                              ี
                                                                               ี
                                                                                                        ื่
                       รายละเอยดการปฏิบัติงาน ท าให้เนื้อหาใจความในการเขียนไม่ละเอยดมากพอที่จะสามารถน าไปเพอ
                                                                       ื่
                       วิเคราะห์งานได้ ดังนั้น นักวิเคราะห์งานจะต้องอธิบายเพอขอความร่วมมือจากพนักงานทุกฝ่ายได้
                       เข้าใจถึงความจ าเป็นที่จะต้องได้รับข้อมูลที่ละเอียดชัดเจนมากพอ เพื่อน าไปวิเคราะห์ลักษณะของงาน
                       อันจะเป็นประโยชน์ต่อพนักงานเพื่อใช้ในการปรับปรุงกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต่อไป
                              2.6.2 การใช้แบบสอบถาม การใช้แบบสอบถามเป็นวิธีการที่ไม่รบกวนเวลาในการปฏิบัติงาน
                       ของพนักงานเนื่องจากใช้เวลาน้อยกว่า นักวิเคราะห์สามารถถามค าถามที่ต้องการในรายละเอยดของ
                                                                                                    ี
                       งานนั้นได้ตรงจุด ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ตลอดจนง่ายต่อการวิเคราะห์ข้อมูลเพอน ามาสรุป
                                                                                                ื่
                       เป็นรายงาน อย่างไรก็ตาม ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการสร้างแบบสอบถามที่มี
                       ประสิทธิภาพ การทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถามก่อนน าไปเก็บข้อมูลจริงมีหลายขั้นตอน

                       ประกอบกับผู้ตอบแบบสอบถาม อาจขาดทักษะในการตอบแบบสอบถามท าให้เกิดความคลาดเคลื่อน
                       ของข้อมูล
                                              ์
                                                                                                         ั้
                              2.6.3 การสัมภาษณ การสัมภาษณ์จะได้ข้อมูลเชิงลึกและกว้างเนื่องจากเป็นการสัมภาษณ์ทง
                       พนักงานผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งงานนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานทั้งหัวหน้างานและลูกน้อง
                       ควรสัมภาษณต าแหน่งที่มีความส าคัญกับโรงแรมทั้งในมิติรูปแบบของงาน ลักษณะงานและการติดต่อ
                                  ์
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26