Page 65 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 65

๕๙


                                                                                                  ็
               ดีกว่า คนอื่นๆ มาก เพื่อเป็นเครื่องส่อให้เห็นว่า แปลกจากคนอื่นๆ อย่างไร และธรรมซึ่งเปนภูมิ หรือ
                    ั้
               เป็นชนเชิงของผู้จะเป็นพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า

               พุทธภูมิธรรม มีอยู่ ๔ ประการ คือ


                                                                ้
                                                                                         ้
               ๑. อุสสาโห ความองอาจกล้าหาญในการทําด ไม่ยอ่ทอต่อสิ่งอะไรทั้งหมด เป็นตนว่า การงานที่ทํา
                                                         ี
               ความเมื่อยล้า หิวกระหาย ใกล้ ไกล


               ๒. อุมมัคโค มีป๎ญญาแก่กล้าเชี่ยวชาญ ความรู้อันแก่กล้า ได้แก่ความรู้ใน เหตุผลของการกระทํา นิยต
               โพธิสัตว์ต้องมีความรู้ในเหตุผลต้นปลายของ การกระทําต่างๆ ว่าอย่างไหนจะมีเหตุผลดีชวอย่างไร
                                                                                                 ั่
               แล้วเลือกไม่ทําสิ่งที่ มีผลชั่ว เลือกทําแต่สิ่งที่มีผลด  ี



               ๓. วะวัตถานัง มีอธิษฐานมั่นคง คือมีใจคอหนักแนนมั่นคง มีความมั่นใจ นิยตโพธิสัตว์ย่อมมีใจคอ
                                                              ่
               มั่นคง หนักแนน ไม่เหลาะแหละเหลวไหล เมื่อทํา สิ่งใดต้องทําให้สําเร็จ เป็นอันไม่ทอดทิ้ง
                             ่


                                                                                         ์
               ๔. หิตจริยา ทําแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ นิยตโพธิสัตว์ยอมทําแต่สิ่งที่เป็น ประโยชนแก่ตนและแก่ผู้อื่น
                                                               ่
               ในคุณธรรม ๔ ข้อนี้ ถ้าลําดับตามวิธีใช้ ตองลําดับอย่างนี้ คือ อุมมัคคะ- หิตจริยา-อวัตถานะ-อุสสาหะ
                                                     ้

                       อธิบายว่า ก่อนจะทําสิ่งใดลงไป ต้องใช้อุมมัคคะ คือ ป๎ญญาพิจารณาดู เสียก่อน แล้วจึงใช้หิต

               จริยา คือทําแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ ใช้วัตถานะ คือ ความมั่นใจเป็นที่ ๓ ใช้อุตสาหะคือความไม่ย่อท้อ

               เป็นที่ ๔


                       ส่วนพวกเราที่ไม่ใช่โพธิสัตว์ประเภทนิยตโพธิสัตว์ หรือสักว่าโพธิสัตว์ ก็ควรพยายามทําตนให้

               ตั้งอยู่ในภูมิธรรมทั้ง ๔ ประการนี้ เมื่อสามารถ เลื่อนตนไปถึงภูมิธรรมทั้ง ๔ ประการนี้แล้ว จึงจะ

               เรียกว่า "ปณีตบุคคล" คือ บุคคลชนดี และได้ชื่อว่า เป็นผู้มีภูมิดี
                                               ั้

                       ดูกร มหาบพิตรพระราชสมภาร คําว่า "อัชฌาสัย" ซึ่งเป็นธรรมประจํา นิยตโพธิสัตว์นั้น แปล

               และหมายความว่าอย่างไร


                       แปลว่า "สิ่งที่นอนทับ" หมายความว่า สิ่งที่มีประจําใจ เรียกตามโวหาร ในทางภาษาไทยว่า

               นิสสัยใจคอ หรือน้ําใจ มีทั้งฝุายดีและฝุายชั่ว ส่วนที่จะกล่าวต่อไปนี้ ล้วนแตเป็นฝุายดีทั้งนั้น เพราะ
                                                                                     ่
               เป็นคุณสมบัติ ของนิยตโพธิสัตว์
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70