Page 73 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 73

๖๗


                                                                       ็
               เป็นรูปสี่เหลี่ยม...”  หลังจากการพรรณนาว่าด้วยเรื่องคนก็เปนลักษณะทางภูมิศาสตร์ต่างๆ
               เช่น “ทางด้านทักษิณใกล้เชิงเขาพระสุเมรุมีแม่น้ าใหญ่ น้ าไม่ปะปนระคนกับน้ าในมหาสมุทร ไหลไกล

               ออกไปจากต้นน้ า แยกเป็นทะเลสาบใหญ่สองแห่ง...นาน ๆ ครั้งก็จะท่วมทนแยกเป็นล าน้ าสี่สายไหล
                                                                                   ้
               ไปบ ารุงทวีปทั้งสี่... ระหว่างล าน้ าสี่สายนี้มีภูเขาสี่ลูกคั่น ลูกหนึ่งเป็นทองค า ลูกหนึ่งเป็นเงินและอีก

                                                                            ื้
               สองลูกนั้นเป็นเพชรกับแก้วผลึก...” แชร์แวสคงไม่สามารถทราบเนอความทั้งหมดของเอกสารแต่คง
               จะอาศัยการศึกษาเนื้อเรื่องทั้งหมดจากบุคคลอื่นและจากภาพประกอบซึ่งจะช่วยให้เข้าใจเรื่องได้ง่าย

               ขึ้น


                       ผู้เขียนสันนิษฐานว่าหนังสือที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาที่มีเนื้อความและมีภาพประกอบนี้น่าจะ

               เป็นหนังสือเรื่อง “ไตรภูมิ” ซึ่งอาจเป็นหนังสือไตรภูมิสมัยอยุธยาที่ยังคงเหลืออยู่ก็เป็นได้ หรืออาจ

               เป็นส่วนหนึ่งของ “มาลัยสูตร” พระสูตรที่ว่าด้วยการเดินทางไปโปรดสัตว์ในสวรรค์และนรกภูมิของ

               พระมาลัยซึ่งนิยมแพร่หลายมาแต่สมัยอยุธยาแล้ว อย่างไรก็ดีมีเอกสารสมุดไทยขาวเล่มหนึ่งจํานวน

               ๔๒ พับได้รับการจัดเก็บไว้ทหอสมุดแห่งชาต กรุงปารีส เช่นกันชื่อ พระมาลัย รหัสเอกสาร ๓๑๖
                                                        ิ
                                         ี่
               ได้รับการจัดเก็บในแฟูมสยาม มีลักษณะอักษรไทยย่อแบบอยุธยาตอนปลาย เนื้อความว่าด้วยภพภูมิ
               ต่างๆ ในโลกสัณฐาน และพระประวัติของพระอดีตพุทธเจ้า จึงทําให้ชวนสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเล่ม


                                                                ี้
               เดียวกันกับที่นิโคลาส์ แชร์แวสระบุไว้ในหนังสือเล่มน

                       ข้อสังเกตดังกล่าวจะต้องได้รับการตรวจสอบทางอักขรวิทยา (Palaeography) เนื้อความ
                                                                                  ั
               (Context) และข้อมูลจากแหล่งเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกครั้ง กระนั้นตวอย่างดังกล่าวก็แสดงให้

                                                                                                    ้
               เห็นมุมมองเกี่ยวกับความสนใจของชาวฝรั่งเศสที่มีต่อลักษณะของเอกสารไทยได้เป็นอย่างดีดวย
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78