Page 80 - รายงานประจำปี 2562
P. 80
บทความที่น่าสนใจ
ข้อสังเกตกรณีตามพระราชบัญญัติว่าด้วย
การวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔
ั
ี
ี
ตามแนวคำาวินจฉัยของคณะกรรมการวนิจฉยช้ขาดอำานาจหน้าท่ระหว่างศาล
ิ
ิ
ท่วินิจฉัยกรณีคำาพิพากษาขัดแย้งกันตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยช้ขาด
ี
ี
๒
ี
ั
ี
อำานาจหน้าท่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๔ น้น ในส่วนท่วินิจฉัยว่าเป็นกรณ ี
ที่คำาพิพากษาขัดแย้งกันมีเพียง ๖ เรื่อง เป็นกรณีละเมิด ๓ เรื่อง (คำาวินิจฉัยชี้ขาด
อำานาจหน้าที่ระหว่างศาลที่ ๖๒/๒๕๔๗, ๒/๒๕๕๗, ๖๕/๒๕๕๙ ) และกรณีสัญญา
ี
ื
ี
ี
๓ เร่อง (คำาวินิจฉัยช้ขาดอำานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๒๖/๒๕๔๘, ๑๙/๒๕๕๒,
๓
๖๔/๒๕๕๙) กับที่วินิจฉัยว่าไม่เป็นกรณีตามมาตรานี้อีก ๑๘ เรื่อง มีข้อสังเกตดังนี้
๑. ความหมายของคำาว่า “ข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องเดียวกัน”
คำาว่า “ข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องเดียวกัน” ตามบทบัญญัติในมาตรา ๑๔ นั้น
ื
มีขอบเขตเพียงใด ตามคำาวินิจฉัยท่วินิจฉัยว่าเป็นกรณีคำาพิพากษาขัดแย้งกันในเร่อง
ี
ั
ั
ั
ึ
ี
ละเมิดตามคำาวินิจฉัยท้งสามฉบับน้น เหตุการณ์ในคดีท่เกิดข้นน้นเป็นเหตุการณ์ สุรพล ศุขอัจจะสกุล ๑
เดียวกัน ท้งสองศาลฟังข้อเท็จจริงว่ามีเหตุการณ์เดียวกันน้นเกิดข้นจริง ผู้กระทำา ผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา
ึ
ั
ั
ั
ี
ให้เกิดละเมิดและผู้ท่มีสิทธิได้รับการชดใช้ความเสียหายน้นเป็นคนเดียวกัน เพียงแต่ ผู้ช่วยเลขานุการ
กำาหนดจำานวนค่าเสียหายต่างกัน และคณะกรรมการเห็นว่าเป็นกรณีที่คำาพิพากษา คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด
อำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
ึ
ิ
ิ
ขดแยงกันตามมาตรา ๑๔ และวนจฉยให้ปฏบัตตามคาพพากษาของศาลใดศาลหนง
ั
ั
ิ
ิ
้
่
ิ
ำ
๑
ู
ี
ู
ี
ำ
ผ้ช่วยผ้พิพากษาศาลฎีกา ผ้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล
ู
(น.บ., น.บ.ท., ร.บ., สค.ม., น.ม., รป.ด.)
๒
พระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒
ื
ี
ี
ำ
ำ
ี
มาตรา ๑๔ ถ้ามีคาพิพากษาหรือคาส่งท่ถึงท่สุดระหว่างศาลขัดแย้งกันในคดีท่มีข้อเท็จจริงเป็นเร่อง
ั
ู
เดียวกัน จนเป็นเหตุให้ค่ความไม่ได้รับการเยียวยาความเสียหายหรือไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความ
ึ
ขัดแย้งในเร่องฐานะหรือความสามารถของบุคคล ค่ความ หรือบุคคลซ่งได้รับผลกระทบโดยตรงจาก
ู
ื
ั
คาพิพากษาหรือคาส่งดังกล่าวอาจย่นคาร้องต่อคณะกรรมการเพ่อขอให้วินิจฉัยเก่ยวกับการปฏิบัต ิ
ำ
ื
ื
ี
ำ
ำ
ำ
ำ
ำ
ั
ตามคาพิพากษาหรือคาส่งของศาลดังกล่าวได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันท่คาพิพากษาหรือคาส่งท่ออก
ั
ี
ำ
ี
ภายหลังถึงที่สุด
่
ุ
ิ
ึ
ให้คณะกรรมการพจารณาคารองตามวรรคหน่ง โดยคานงถงประโยชน์แหงความยติธรรมและ
ึ
ำ
ึ
ำ
้
ความเป็นไปได้ในการปฏิบัติตามคำาพิพากษาหรือคำาสั่งของศาล แล้วให้กำาหนดแนวทางการปฏิบัติตาม
คำาพิพากษาหรือคำาสั่งของศาลดังกล่าว คำาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
ให้นำากำาหนดเวลาตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง (๓) มาใช้บังคับกับกรณีนี้โดยอนุโลม
๓
ำ
ี
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล (คาส่ง) ท่ ๑๒/๒๕๔๖, ๓๕/๒๕๔๖, ๑๐/๒๕๕๐,
ำ
ั
ำ
ี
ี
๒๒/๒๕๕๐, ๒๘/๒๕๕๐, ๑๗/๒๕๕๑, ๘๖/๒๕๕๖, ๗๘/๒๕๕๙, ๗๙/๒๕๕๙, ๑/๒๕๖๐, ๒/๒๕๖๐,
๓๘/๒๕๖๐, ๑๕๙/๒๕๖๐, ๑๔๓/๒๕๖๑, ๒๔/๒๕๖๒, ๗๗/๒๕๖๒, ๘๖/๒๕๖๒ และ ๙๑/๒๕๖๒
74