Page 199 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 199
๑๘๖
ั
มาตรการชั่วคราวก่อนการบังคับช าระค่าปรับ ถ้าศาลเห็นเหตุอนควรสงสัยว่าผู้นั้นจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระ
ค่าปรับ ศาลจะสั่งเรียกประกันหรือจะสั่งกักขังผู้นั้นแทนค่าปรับไปพลางก่อนก็ได้ จึงมีผลว่าศาลอาจมีค าสั่ง
ิ
ให้กักขังแทนค่าปรับได้ทันทีตั้งแต่มีค าพพากษา
ค าพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๐๖/๒๕๓๘ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙ มีเจตนารมณ์ให้ผู้ต้องโทษ
ปรับช าระค่าปรับ ส่วนการบังคับให้ช าระค่าปรับจะใช้วิธียึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับหรือวิธีกักขังแทนค่าปรับอยู่
ั
ที่ศาลจะเลือกใช้ตามรูปคดี ส่วนที่กฎหมายบัญญัติว่าถ้าศาลเห็นเหตุอนควรสงสัยว่าผู้นั้นจะหลีกเลี่ยง
ไม่ช าระค่าปรับศาลจะเรียกประกันหรือจะสั่งให้กักขังผู้นั้นแทนค่าปรับไปพลางก่อนก็ได้นั้น เป็นเพยงการ
ี
ก าหนดมาตรการชั่วคราวก่อนด าเนินการตามวิธีที่ศาลเลือกใช้เท่านั้น เมื่อศาลชั้นต้นเลือกใช้วิธียึดทรัพย์สิน
ใช้ค่าปรับ การที่ศาลชั้นต้นออกหมายกักขังเมื่อคดีถึงที่สุดให้กักขังจ าเลยแทนค่าปรับ จึงเป็นการออกหมาย
ผิดพลาด หาใช่ศาลชั้นต้นเปลี่ยนแปลงค าสั่งเดิมเป็นให้กักขังจ าเลยแทนค่าปรับไม่
ตามค าพิพากษาของศาลฎีกาดังกล่าว เห็นได้ว่า ศาลฎีกาวินิจฉัยว่าค าสั่งของศาลที่ให้กักขังจ าเลย
แทนค่าปรับไปพลางก่อน เป็นมาตรการชั่วคราวก่อนการบังคับช าระค่าปรับ
ิ
จึงมีปัญหาให้วิเคราะห์ว่า เมื่อศาลพพากษาให้ปรับและจ าเลยไม่ช าระค่าปรับ โดยเฉพาะในคดีอาญา
ความผิดไม่ร้ายแรง ค่าปรับมีจ านวนไม่สูงมาก ยังอยู่ในวิสัยที่จ าเลยจะช าระค่าปรับได้ภายใน ๓๐ วัน การที่
ั
จ าเลยยังไม่มีเงินช าระค่าปรับในวันที่ศาลพพากษา พฤติการณ์ดังกล่าวจะถือว่าเป็นเหตุอนควรสงสัยว่า
ิ
ั
จ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับหรือไม่ หากพฤติการณ์ดังกล่าวไม่ถือว่าเป็นเหตุอนควรสงสัยว่าจ าเลย
หลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ ศาลจะสั่งให้กักขังจ าเลยแทนค่าปรับทันทีได้หรือไม่ และหากฟงว่าศาลยังมี
ั
ั
อานาจกักขังจ าเลยแทนค่าปรับได้ทันทีแม้ไม่มีเหตุอนควรสงสัยว่าจ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ
เหตุใดกฎหมายจึงต้องก าหนดให้เวลาจ าเลยช าระค่าปรับภายใน ๓๐ วัน และก าหนดให้ศาลสั่งกักขังจ าเลย
แทนค่าปรับก่อนครบเวลาดังกล่าวเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าจ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับเท่านั้น
ิ
นอกจากนั้น เมื่อพจารณาบทบัญญัติมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่งแล้ว เห็นได้ว่า กฎหมายบัญญัติไว้โดย
ชัดเจนว่า เมื่อจ าเลยไม่ช าระค่าปรับภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ศาลพพากษา ศาลจึงจะดุลพนิจสั่งให้ยึด
ิ
ิ
ื่
ิ
ทรัพย์สินหรืออายัดสิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินเพอใช้ค่าปรับ หรือกังขังแทนค่าปรับ และศาลจะใช้ดุลพนิจ
ั
สั่งให้กักขังแทนค่าปรับไปพลางก่อน ซึ่งหมายความว่า กักขังแทนค่าปรับทันที เมื่อศาลเห็นเหตุอนควร
สงสัยว่าจ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ การที่มาตรา ๒๙ บัญญัติหลักเกณฑ์ไว้ดังกล่าว ถือได้หรือไม่ว่า
ั
ิ
เป็นกรณีที่กฎหมายยกเว้น “วนเริ่มบังคับโทษปรับ” โดยไม่ให้เริ่มบังคับในวันมีค าพพากษา เว้นแต่
ศาลเห็นเหตุอนควรสงสัยว่าจ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ จึงเริ่มบังคับโทษปรับได้ทันที ในท านอง
ั
เดียวกับ การเริ่มนับโทษจ าคุก ซึ่งกฎหมายยกเว้นให้เริ่มนับในวันอนที่ไม่ใช่วันมีค าพพากษาได้ ตาม
ิ
ื่
ประมวลฎหมายอาญา มาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง ซึ่งบัญญัติว่า “โทษจ าคุกให้เริ่มแต่วันมีค าพพากษา แต่ถ้า
ิ
ิ
ผู้ต้องค าพพากษาถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษา ให้หักจ านวนวันที่ถูกคุมขังออกจากระยะเวลาจ าคุกตามค า
พิพากษา เว้นแต่ ค าพิพากษานั้นจะกล่าวไว้เป็นอย่างอื่น”
ค าพพากษาฎีกาที่ ๒๔๖๙/๒๕๖๐ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง เป็นบทก าหนด
ิ
หลักเกณฑในการบังคับโทษจ าคุกว่าให้เริ่มนับแต่วันที่ศาลมีค าพพากษา โดยมีข้อยกเว้นในกรณีที่ศาลจะม ี
ิ
์