Page 200 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 200
๑๘๗
ื่
ิ
ค าพพากษาเป็นอย่างอน การใช้ดุลพนิจให้นับโทษจ าคุกจ าเลยต่อจากโทษจ าคุกในคดีอ่น จึงเป็นข้อยกเว้น
ิ
ื
ิ
ไม่ให้เริ่มนับแต่วันมีค าพพากษา
ิ
ค าพพากษาฎีกาที่ ๑๘๓๑/๒๕๕๗ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๒ วรรคหนึ่ง เป็นบทบัญญัติ
ิ
ที่ก าหนดหลักเกณฑ์ในการบังคับโทษจ าคุกจ าเลยว่าให้เริ่มนับแต่วันที่ศาลมีค าพพากษา โดยมีข้อยกเว้น
ิ
ในกรณีที่ศาลจะมีค าพพากษาเป็นอย่างอน ซึ่งวันมีค าพพากษาตามบทบัญญัติดังกล่าวหมายถึงวันที่ศาล
ิ
ื่
ิ
่
ิ
อานค าพพากษาโดยเปิดเผยตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๑๘๒ และ ๑๘๘ โดย
ิ
ิ
ค าพพากษาไม่จ าเป็นต้องถึงที่สุด เพราะเมื่อศาลมีค าพพากษาแล้วจ าเลยย่อมต้องถูกบังคับโทษตาม
ุ
ค าพิพากษานั้น แม้ต่อมาภายหลังศาลอทธรณ์หรือศาลฎีกาจะแก้โทษจ าคุกก็ไม่มีผลต่อวันเริ่มโทษจ าคุกแต่
ิ
อย่างใด คดีนี้ศาลชั้นต้นอ่านค าพพากษาให้จ าเลยฟังแล้ว โดยให้ลงโทษจ าคุกจ าเลยตลอดชีวิต และนับโทษ
ื่
จ าเลยต่อจากโทษจ าคุกจ าเลยในคดีอาญาอน ย่อมมีความหมายว่าค าพพากษาได้กล่าวถึงเวลาเริ่มบังคับ
ิ
โทษจ าคุกไว้เป็นอย่างอน ดังนั้น การเริ่มนับโทษจ าคุกจ าเลยจึงต้องเริ่มนับเมื่อจ าเลยได้รับโทษจ าคุกใน
ื่
คดีอาญาอนครบถ้วนแล้ว แม้ต่อมาศาลฎีกามีค าพพากษาแก้โทษของจ าเลยเหลือเพยง ๓๖ ปี ๘ เดือน
ื่
ิ
ี
แต่ก็ยังคงให้นับโทษจ าคุกจ าเลยต่อจากโทษจ าคุกของจ าเลยในคดีอาญาดังกล่าว จึงไม่มีผลต่อวันเริ่มนับ
โทษจ าคุกของจ าเลย
ตามค าพพากษาของศาลฎีกาดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ในการบังคับโทษทางอาญานั้น กฎหมาย
ิ
ิ
อาจยกเว้นให้เริ่มบังคับโทษในวันอื่นที่ไม่ใช่วันมีค าพพากษาได้
ผู้ศึกษาเห็นว่า โทษปรับเป็นโทษที่บังคับเอากับทรัพย์สินของจ าเลย มิได้มุ่งบังคับกับสิทธิเสรีภาพ
ของจ าเลยเช่นเดียวกับโทษจ าคุกและโทษกักขัง ดังนั้น เมื่อศาลพพากษาให้ปรับจ าเลย การให้จ าเลยช าระ
ิ
ั
ิ
ค่าปรับตามค าพพากษา ย่อมเป็นไปตามวัตถุประสงค์อนแท้จริงของการลงโทษปรับ แต่เนื่องจากจ าเลย
แต่ละบุคคลมีฐานะทางเศรษฐกิจไม่เท่าเทียมกัน การให้จ าเลยทุกคนช าระค่าปรับทันทีในวันที่ศาลพิพากษา
ย่อมท าให้จ าเลยซึ่งมีฐานะยากจนและยังไม่มีเงินช าระค่าปรับ ต้องถูกกักขังแทนค่าปรับ ซึ่งไม่เป็นไปตาม
ิ
วัตถุประสงค์ของการลงโทษปรับ ท าให้จ าเลยได้รับความเดือดร้อนและต้องสูญเสียอสรภาพโดยไม่สมควร
เกิดความไม่เสมอภาคในการบังคับใช้กฎหมาย และไม่เป็นธรรมแก่จ าเลยซึ่งมีฐานะยากจน
ิ
เมื่อพจารณาเหตุผลตามมาตรา ๒๙ วรรคหนึ่ง ที่บัญญัติวิธีบังคับโทษปรับไว้โดยเฉพาะว่า
เมื่อจ าเลยไม่น าเงินค่าปรับมาช าระภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันที่ศาลพพากษา ศาลจึงยึดทรัพย์สินหรืออายัด
ิ
ื่
สิทธิเรียกร้องในทรัพย์สินเพอใช้ค่าปรับ หรือกังขังจ าเลยแทนค่าปรับได้ เว้นแต่ ศาลเห็นอนควรสงสัยว่า
ั
จ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ จึงจะกักขังแทนค่าปรับได้ทันที ซึ่งแตกต่างจากวิธีบังคับโทษจ าคุกตาม
มาตรา ๒๒ ที่บัญญัติให้เริ่มนับแต่วันมีค าพพากษา จึงตีความได้ว่า เป็นกรณีที่กฎหมายยกเว้นไม่ให้เริ่ม
ิ
บังคับโทษปรับในวันมีค าพพากษา โดยให้สิทธิจ าเลยน าเงินค่าปรับมาช าระภายใน ๓๐ วัน เมื่อจ าเลย
ิ
ั
ไม่ช าระค่าปรับภายในเวลาดังกล่าว จึงเริ่มบังคับโทษปรับ เว้นแต่ ศาลเห็นเหตุอนควรสงสัยว่าจ าเลยจะ
หลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ จึงเริ่มบังคับโทษปรับได้ทันที ซึ่งเหตุสงสัยว่าจ าเลยจะหลีกเลี่ยงไม่ช าระค่าปรับ
ื่
นั้น ต้องเป็นเหตุผลอนที่ไม่ใช่เหตุเพราะจ าเลยไม่ช าระค่าปรับ และศาลต้องมีข้อเท็จจริงดังกล่าวมา
ิ
ประกอบในการพจารณาสั่งให้กักขังจ าเลยแทนค่าปรับด้วย ซึ่งการตีความดังกล่าวน่าจะเป็นไปตาม