Page 207 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 207

๑๙๔




                                  ิ่
                 จัดเก็บภาษีมูลค่าเพมแทนกรมสรรพากรและภาษีสรรพสามิตแทนกรมสรรพสามิต ในส่วนของสินค้าที่
                 น าเข้าหรือส่งออกที่ต้องเสียภาษีดังกล่าว  (๓) กรมสรรพสามิต มีหน้าที่จัดเก็บภาษีอากรตาม
                 พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 จากสินค้าและบริการบางประเภทที่ต้องการควบคุม เช่น

                 สุรา ยาสูบ น้ าหอม  (๔) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 2 รูปแบบ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ
                 ทั่วไป เป็นรูปแบบการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีอยู่ทั่วประเทศ ได้แก่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด
                                                                                       ิ
                 (อบจ.) องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพเศษ ซึ่งมีการบริหาร
                 จัดการไม่เหมือนกับรูปแบบทั่วไป ส่วนใหญ่จะเป็นเขตเมืองใหญ่หรือเมืองท่องเที่ยว ปัจจุบันมี
                 กรุงเทพมหานครและเมืองพทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่จัดเก็บภาษีท้องถิ่น เช่น ภาษีที่ดิน
                                         ั
                 และสิ่งปลูกสร้าง ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ภาษีป้ายตามพระราชบัญญัติ
                 ภาษีป้าย พ.ศ. 2510
                        หากผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรไม่ช าระหนี้ภาษีอากรหรือช าระไม่ครบถ้วนภายในก าหนดระยะเวลา

                 ของการยื่นแบบแสดงรายการและการช าระภาษีอากรส าหรับภาษีอากรแต่ละประเภทภาษี หรือกรณีที่
                 เจ้าพนักงานประเมินภาษีอากรตรวจสอบพบว่าบุคคลใดไม่ช าระภาษีหรือช าระภาษีไม่ถูกต้อง เจ้าพนักงาน


                 ประเมินจึงใช้อานาจท าการประเมินให้ช าระภาษีอากร หากผู้ถูกประเมินไม่ช าระภาษีให้เสร็จสิ้นภายใน
                 ระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในหนังสือแจ้งการประเมินก็จะท าให้บุคคลนั้นเป็นผู้ค้างช าระภาษี และหนี้ดังกล่าว
                 เป็นหนี้ภาษีอากรค้าง หน่วยงานจัดเก็บภาษีอากรดังกล่าวข้างต้นย่อมมีหน้าที่ติดตามและเร่งรัดหนี้

                 โดยกระบวนการในการบังคับช าระหนี้ภาษีอากรของหน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน

                 คือ การบังคับช าระหนี้ภาษีอากรก่อนคดีขึ้นสู่การพิจารณาในชั้นศาล และการบังคับคดีตามค าพิพากษา
                                                                    ิ
                        ในการบังคับช าระหนี้ภาษีอากรก่อนคดีขึ้นสู่การพจารณาในชั้นศาลเป็นการใช้มาตรการทาง
                 ปกครอง ซึ่งกฎหมายจัดเก็บภาษีแต่ละฉบับข้างต้นล้วนแต่บัญญัติให้อานาจอธิบดีกรมสรรพากร อธิบดีกรม

                 ศุลกากร อธิบดีกรมสรรพสามิต ผู้ว่าราชการจังหวัดและผู้บริหารท้องถิ่นมีอ านาจในการบังคับช าระหนี้ภาษี

                 อากรค้างจากลูกหนี้ภาษีด้วยวิธีการออกค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของลูกหนี้ผู้ค้างภาษี
                 อากรเพื่อน าเงินมาช าระหนี้ภาษีได้ โดยที่ไม่จ าเป็นต้องน าคดีมาฟองต่อศาลก่อน ซึ่งจะเป็นกรณีแตกต่างไป
                                                                      ้
                 จากหนี้ทั่วไป อนเป็นวิธีการที่ช่วยให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและอานวยประโยชน์ในการปฏิบัติงานของ
                              ั

                                                                                                      ้
                 ทางราชการ อย่างไรก็ดีสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นคือ หน่วยงานจัดเก็บภาษีของรัฐบางหน่วยงานเลือกที่จะฟอง
                                     ื่
                                                          ิ
                 คดีกับผู้ค้างภาษีอากรเพอจะได้บังคับคดีตามค าพพากษา โดยไม่ใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธียึด อายัด

                 และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรเสียก่อนทั้งที่กฎหมายให้อานาจไว้ เนื่องจากปัญหาและ
                 ข้อขัดข้องในการบังคับใช้มาตรการดังกล่าว เช่น กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีจ านวนบุคลากรน้อย
                 ขาดความรู้ความเข้าใจและแนวทางที่ชัดเจนในการใช้มาตรการดังกล่าว และผู้บริหารส่วนท้องถิ่นซึ่งมาจาก

                 การเลือกตั้งเกรงว่าหากใช้มาตรการดังกล่าวกระทบต่อสิทธิของประชาชนโดยตรงอาจท าให้เสียฐานเสียง
                 หรือเกรงอทธิพล หรือกรณีกรมศุลกากร หากพจารณาส านวนคดีที่ยื่นฟองผู้ค้างภาษีอากรต่อศาลภาษี
                                                                              ้
                          ิ
                                                         ิ
                 อากรกลางจะพบว่ากรมศุลกากรยังไม่เคยใช้มาตรการดังกล่าว ส าหรับกรมสรรพากรเป็นหน่วยงานที่บังคับ
                                                                   ื่
                 ใช้มาตรการยึด อายัดและขายทอดตลาดมากกว่าหน่วยงานอนอาจเป็นเพราะมีหน่วยเร่งรัดภาษีอากรค้าง
                 และมีระเบียบรวมทั้งแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน แต่ถึงกระนั้นในการบังคับใช้มาตรการดังกล่าวก็ประสบ
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212