Page 212 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 212
๑๙๙
ค้นหรือยึดบัญชีเอกสารหรือหลักฐานอื่นของบุคคลดังกล่าวใน (1)
การด าเนินการตาม (1) และ (2) ต้องให้เวลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับ
หนังสือเรียกหรือค าสั่ง และการปฏิบัติตาม (3) ต้องเป็นไปตามระเบียบที่อธิบดีก าหนด”
๑.๓ กรมศุลกากร มีบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560 มาตรา 23 ว่า ในกรณีที่
ผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกค้างช าระอากร ให้อธิบดีมีอานาจกักของที่ผู้นั้นน าเข้าหรือส่งออกและก าลัง
ผ่านพิธีการศุลกากร หรืออยู่ในความก ากับตรวจตราของศุลกากรได้จนกว่าผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกจะ
เสียอากรที่ค้างให้ครบถ้วน และถ้าไม่เสียภายในก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่กักของนั้น ให้อธิบดีมีอานาจ
สั่งให้น าของนั้นออกขายทอดตลาดได้
เงินที่ได้จากการขายทอดตลาดตามวรรคหนึ่ง ให้หักใช้ค่าอากรที่ค้างช าระ ค่าอากร
ั
ื่
ส าหรับของที่ขายทอดตลาด ค่าเก็บรักษา ค่าขนย้าย หรือค่าภาระติดพนอย่างอนที่ค้างช าระแก่กรม
ศุลกากร รวมทั้งค่าภาษีอากรตามกฎหมายอนก่อน เหลือเท่าใดให้ใช้ค่าภาระติดพนต่าง ๆ ที่ต้องช าระแก่
ื่
ั
ผู้เก็บรักษาและผู้ขนส่งที่น าของที่ขายทอดตลาดนั้นเข้ามา ตามล าดับ เมื่อได้หักใช้เช่นนี้แล้วยังมีเงิน
้
ี
เหลืออยู่อกเท่าใดให้คืนแก่เจ้าของ แต่เมื่อพนก าหนดหกเดือนนับแต่วันขายทอดตลาดแล้ว เจ้าของไม่มา
เรียกคืนให้เงินที่เหลืออยู่นั้นตกเป็นของแผ่นดิน
มาตรา 24 ในการบังคับค่าอากรที่ค้างช าระ หากกรมศุลกากรได้ด าเนินการ
ตามมาตรา 23 แล้ว ยังไม่ได้รับค่าอากรหรือได้รับไม่ครบถ้วน ให้อธิบดีมีอานาจสั่งยึดหรืออายัด และขาย
ทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียอากรได้ทั่วราชอาณาจักร โดยมิต้องขอให้ศาลออกค าสั่ง
วิธีการยึดและขายทอดตลาดทรัพย์สิน ให้ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธี
่
ิ
พจารณาความแพงโดยอนุโลม ส่วนวิธีการอายัดให้ปฏิบัติตามระเบียบที่อธิบดีก าหนดโดยอนุมัติของ
รัฐมนตรีเงินที่ได้จากการขายทอดตลาดดังกล่าว ให้หักค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายในการยึดและขายทอดตลาด
และค่าอากรที่ไม่ได้เสียหรือเสียไม่ครบถ้วน ถ้ามีเงินเหลือให้คืนแก่เจ้าของ
จากกฎหมายทั้งสามฉบับดังกล่าวข้างต้น เห็นได้ว่ากฎหมายได้ให้อานาจอธิบดีกรมสรรพากร
กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากรมีอานาจออกค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี
อากร โดยอานาจดังกล่าวอธิบดีสามารถใช้ได้โดยไม่ต้องผ่านองค์กรศาลในการพจารณาแต่อย่างใด ซึ่งเป็น
ิ
ื่
อานาจสูงสุดที่กฎหมายให้ไว้เพอให้ได้มาซึ่งการช าระภาษีที่ถูกต้องครบถ้วน แต่วิธีการบังคับใช้มาตรการ
ดังกล่าวของกรมศุลกากรแตกต่างจากกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตในประเด็นส าคัญ ดังนี้
ก) ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 และพระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560 มาตรา 143
และมาตรา 144 ก าหนดให้อานาจอธิบดีออกค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี
อากรได้เลย โดยที่มิได้ก าหนดว่าต้องด าเนินการตามมาตรการใดก่อน แต่พระราชบัญญัติศุลกากร
พ.ศ.2560 ได้ก าหนดให้อธิบดีมีอานาจกักของที่ผู้น าของเข้าหรือส่งออกที่ค้างช าระอากรก าลังจะผ่านพธี
ิ
การศุลกากรหรืออยู่ในความก ากับตรวจตราของศุลกากรได้จนกว่าผู้น าของเข้าหรือผู้ส่งของออกจะเสีย
อากรที่ค้างให้ครบถ้วน และถ้าไม่เสียภายในก าหนดสามสิบวันนับแต่วันที่กักของนั้น ให้อธิบดีมีอ านาจสั่งให้
น าของนั้นออกขายทอดตลาดได้ หากกรมศุลกากรได้ด าเนินการกักของและขายทอดตลาดของที่ผู้ค้างช าระ
ิ
อากรก าลังผ่านพธีศุลกากรหรืออยู่ในความก ากับตรวจตราของศุลกากรแล้วยังไม่ได้รับค่าอากรหรือได้รับ
ไม่ครบถ้วน อธิบดีมีอานาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองในล าดับถัดมา คือสั่งยึดหรืออายัดและขายทอดตลาด
ทรัพย์สินของผู้ต้องรับผิดเสียอากรได้โดยมิต้องขอให้ศาลออกค าสั่ง