Page 213 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 213

๒๐๐




                        ดังนี้จึงมีปัญหาว่าหากกรมศุลกากรไม่ได้ใช้อานาจกักของผู้น าเข้าก่อน อธิบดีจะมีอ านาจออกค าสั่ง

                 ยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินผู้ค้างภาษีอากรได้หรือไม่  ซึ่งประเด็นนี้พระราชบัญญัติศุลกากร
                 พ.ศ.2560 เพงออกมาใช้บังคับเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 จึงยังไม่มีแนวบรรทัดฐาน และทางกรม
                             ิ่
                 ศุลกากรขณะนี้ยังไม่ได้ด าเนินการใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษี
                              ิ
                 อากร แต่เมื่อพจารณาระเบียบกรมศุลกากร ว่าด้วยการอายัดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร พ.ศ.2560
                 ข้อ 12 ก าหนดว่า “การอายัดทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้องของผู้ค้างช าระอากรที่จะเรียกให้บุคคลภายนอก
                 ช าระเงินหรือส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินหรือที่จะเรียกให้บุคคลภายนอกช าระหนี้อย่างอน นอกจากการ
                                                                                           ื่
                 ช าระเงินหรือการส่งมอบหรือการโอนทรัพย์สิน ให้ด าเนินการดังต่อไปนี้ (1) ให้พนักงานศุลกากรขอ

                 อนุญาตอายัดทรัพย์สินต่ออธิบดี พร้อมรายงานการด าเนินการกักของและการขายทอดตลาดตามมาตรา
                 23 แห่งพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 แบบแจ้งการประเมินอากร จ านวนเงินค่าอากรที่ยังคงค้าง
                 ช าระ หลักฐานการได้รับหนังสือเตือนตามข้อ 11 และค าสั่งอายัดทรัพย์สินตามมาตรา 24 แห่ง

                                                                                     ื่
                 พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 ตามแบบแนบท้ายระเบียบนี้ (แบบที่ 2) เพอสั่งอายัดทรัพย์สินของ
                 ผู้ค้างช าระอากร” เห็นได้ว่า หากจะด าเนินการขออนุมัติอายัดทรัพย์สินผู้ค้างอากร ต้องมีรายงานการ
                 ด าเนินการกักของและการขายทอดตลาดตามมาตรา 23 ดังนั้นหากพนักงานเจ้าหน้าที่ยังไม่ได้ด าเนินการ
                 ตามมาตรา 23 ก็ไม่น่าจะด าเนินการยึดอายัดตามมาตรา 24 ได้  ซึ่งในเรื่องนี้หากเป็นกรณีผู้น าเข้าน า

                 สินค้าเข้ามาในราชอาณาจักรและได้ผ่านการตรวจปล่อยสินค้าไปแล้ว ภายหลังพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบ
                                                                                                       ี
                 เอกสารหรือสินค้าที่น าเข้าและท าการประเมินย้อนหลัง และผู้น าเข้ารายนี้ไม่ได้น าเข้าสินค้าใดเข้ามาอก
                 พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ได้ด าเนินการกักของตามมาตรา 23 แล้วเช่นนี้ กรมศุลกากรก็ไม่น่าจะด าเนินการยึด
                 อายัดทรัพย์สินของผู้น าเข้ารายนี้ตามมาตรา 24 ได้ นอกจากนี้กรมศุลกากรก็ไม่ได้มีระเบียบว่าด้วยการยึด

                 ทรัพย์ และระเบียบว่าด้วยการขายทอดตลาด ซึ่งแตกต่างจากกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตที่ได้มี
                 ระเบียบดังกล่าวไว้แล้ว
                        ข) ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 วรรคหก บัญญัติว่า ผู้ต้องรับผิดเสียภาษีอากรตามวรรคสอง
                 ให้หมายความรวมถึงผู้เป็นหุ้นส่วนจ าพวกไม่จ ากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลด้วย  และ

                 พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 มาตรา 143 วรรคสี่ และมาตรา 144 วรรคสี่ บัญญัติว่า
                 ผู้ค้างช าระภาษีตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จ ากัดความรับผิดใน
                 ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลด้วย ซึ่งเห็นได้ว่ากรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตสามารถด าเนินการยึดอายัดและ

                 ขายทอดตลาดทรัพย์สินของหุ้นส่วนประเภทไม่จ ากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้
                 แต่พระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 ไม่ได้ก าหนดให้หมายความรวมถึงผู้เป็นหุ้นส่วนจ าพวกไม่จ ากัด
                 ความรับผิดในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลด้วย ดังนั้นกรมศุลกากรจึงไม่อาจด าเนินการใช้มาตรการทางปกครอง
                 ด้วยวิธีการยึดและอายัดทรัพย์สินของหุ้นส่วนจ าพวกไม่จ ากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้
                                          ้
                                                                               ้
                 กรมศุลกากรต้องด าเนินการฟองคดีห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้ค้างภาษีและฟองคดีหุ้นส่วนจ าพวกไม่จ ากัด
                 ความรับผิด เช่นหุ้นส่วนผู้จัดการ ส่วนกรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตสามารถด าเนินการใช้มาตรการ
                 ทางปกครองด้วยวิธียึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของหุ้นส่วนจ าพวกไม่จ ากัดความรับผิดในห้าง
                                                                            ื่
                 หุ้นส่วนนิติบุคคลได้ ค) ประมวลรัษฎากร มาตรา 12 ตรี ก าหนดว่า เพอประโยชน์ในการด าเนินการตาม
                 มาตรา 12 ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา 12 หรือสรรพากรจังหวัดมีอานาจ (1) ออกหมายเรียกผู้ต้องรับผิด


                                                      ั
                 ช าระภาษีอากรค้าง และบุคคลใด ๆ ที่มีเหตุอนควรเชื่อว่าจะเป็นประโยชน์แก่การจัดเก็บภาษีอากรค้างมา
                 ให้ถ้อยค า (2) สั่งบุคคลดังกล่าวใน (1) ให้น าบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอนอนจ าเป็นแก่การจัดเก็บภาษี
                                                                               ื่
                                                                                  ั
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218