Page 215 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 215

๒๐๒




                                      พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 มาตรา 62 ถ้าผู้เสีย
                                                         ิ่
                 ภาษีมิได้ช าระภาษีค้างช าระ เบี้ยปรับและเงินเพมภายในเวลาที่ก าหนดไว้ในหนังสือแจ้งเตือนตามมาตรา
                         ้

                 61 เมื่อพนเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งเตือนดังกล่าวแล้ว ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอานาจออกค าสั่ง
                                                                        ื่
                 เป็นหนังสือยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษีเพอน าเงินมาช าระภาษีค้างช าระ เบี้ยปรับ
                      ิ่
                                     ั
                 เงินเพม และค่าใช้จ่ายอนเนื่องมาจากการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินนั้นได้ แต่ห้ามมิให้ยึด
                 อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษีเกินกว่าความจ าเป็นที่พอจะช าระภาษีค้างช าระ เบี้ยปรับ
                 เงินเพิ่ม และค่าใช้จ่ายดังกล่าว
                               การออกค าสั่งเป็นหนังสือยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้บริหารท้องถิ่นตาม

                 วรรคหนึ่ง ในกรณีที่เป็นนายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนต าบล และนายกเมืองพทยา ต้องได้รับ
                                                                                            ั
                 ความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด
                               วิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษีตามวรรคหนึ่ง ให้น าวิธีการ

                 ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
                                 ื่
                               เพอประโยชน์แห่งมาตรานี้ การยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษี
                 ไม่ให้หมายความรวมถึงการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้มีหน้าที่ช าระภาษีแทนตามมาตรา
                 47


                               พระราชบัญญัติภาษีป้าย พ.ศ. 2510 มาตรา 21 ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมีอานาจออกค าสั่ง
                                                                                                 ื่
                 เป็นหนังสือให้ยึดหรืออายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายที่ค้างช าระ เพอน าเงิน
                                                  ่
                 มาช าระค่าภาษีป้าย ค่าธรรมเนียมและคาใช้จ่ายโดยมิต้องขอให้ศาลสั่งหรือออกหมายยึด ทั้งนี้ ตามระเบียบ
                 ที่รัฐมนตรีก าหนด

                               การยึดทรัพย์สินจะกระท าได้ต่อเมื่อได้ส่งค าเตือนเป็นหนังสือให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้าย
                 ช าระภาษีป้ายที่ค้างช าระภายในก าหนดไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันที่รับหนังสือนั้น
                                                                                      ุ
                               การขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้ในระหว่างระยะเวลาอทธรณ์ตามมาตรา 30
                 มาตรา 31 มาตรา 32 หรือมาตรา 33 เว้นแต่ทรัพย์สินนั้นจะเป็นของเสียง่าย

                               วิธีการยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สิน เพอให้ได้รับภาษีป้ายที่ค้างช าระ ให้น า
                                                                         ื่
                 วิธีการในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม
                        ปัญหาข้อขัดข้องในการบังคับใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัดและขายทอดตลาด

                 ทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น กรณีตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
                 พ.ศ.2562 เพงเริ่มบังคับใช้จึงยังไม่มีแนวค าพพากษาศาลฎีกา อย่างไรก็ดีจากการศึกษาได้เทียบเคียงกับ
                                                       ิ
                             ิ่
                 แนวทางปฏิบัติซึ่งเดิมตามพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 พระราชบัญญัติภาษีบ ารุง

                 ท้องที่ พ.ศ. 2508 ให้อานาจผู้บริหารท้องถิ่นออกค าสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาดเช่นกัน
                 (พระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๓ ได้ยกเลิกพระราชบัญญัติภาษีโรงเรือนและ

                 ที่ดิน พ.ศ.2475 และพระราชบัญญัติภาษีบ ารุงท้องที่ พ.ศ.2508 )

                        สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นคือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ได้ใช้อานาจดังกล่าวตามที่กฎหมายและ
                 ระเบียบของทางราชการให้อานาจและแนวทางในการปฏิบัติไว้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกลับส่งเรื่องให้

                          ั
                               ้
                 พนักงานอยการฟองคดีต่อศาลแทน ซึ่งคดีที่ส่งส่วนมากเป็นคดีที่มีทุนทรัพย์เพยงเล็กน้อย ส่งผลให้องค์กร
                                                                                 ี
                                                                 ื่
                 ปกครองส่วนท้องถิ่นต้องเสียเงินงบประมาณของแผ่นดินเพอเป็นค่าใช้จ่ายในการด าเนินคดีจ านวนมากอาจ
                                                                                                       ื่
                 ไม่คุ้มค่ากับการด าเนินคดี เช่น ค่าธรรมเนียมศาล, ค่าเดินทางของพยานที่ต้องไปพบพนักงานอยการเพอ
                                                                                                ั
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220