Page 218 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 218
๒๐๕
ิ
เท่านั้น ซึ่งปัญหาว่าโจทก์เป็นผู้มีเงินได้ดังกล่าวหรือไม่ ยังไม่มีข้อยุติเพราะยังอยู่ระหว่างการพจารณาของ
ุ
ุ
คณะกรรมการพจารณาอทธรณ์ แต่การอทธรณ์ไม่เป็นการทุเลาการเสียภาษีอากร เมื่อปรากฏว่า โจทก์ไม่
ิ
ช าระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาตามการประเมินภายในก าหนดเวลา ค่าภาษีดังกล่าวจึงถือเป็นภาษีอากรค้าง
ตามมาตรา 12 แห่งประมวลรัษฎากร อธิบดีของจ าเลยย่อมมีอานาจสั่งยึด อายัดและขายทอดตลาด
ทรัพย์สินของโจทก์ตามมาตรา 12 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร การที่จ าเลยสั่งให้เจ้าพนักงานของ
้
5
จ าเลยยึดและอายัดทรัพย์สินของโจทก์ตามฟอง จึงเป็นการกระท าที่ชอบด้วยกฎหมาย
ตามข้อกฎหมายและแนวค าพพากษาศาลฎีกาข้างต้นจะเห็นได้ว่ากฎหมายได้รองรับการประเมิน
ิ
ุ
ของเจ้าพนักงานว่ามีผลเป็นค าสั่งทางปกครองที่ผู้เสียภาษีต้องปฏิบัติตาม หากไม่ได้อทธรณ์การประเมิน
้
ุ
ุ
ย่อมเป็นยุติตามนั้น และหากอทธรณ์หรือฟองคดีต่อศาลโดยมิได้ขอทุเลาระหว่างอทธรณ์ ผู้เสียภาษีต้อง
ช าระภาษีมิฉะนั้นอาจถูกยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินเพอน าเงินมาช าระภาษีอากรได้ อย่างไรก็
ื่
ตามในทางปฏิบัติ เจ้าพนักงานเกรงว่าเมื่อประเมินภาษีอากรไปแล้ว ผู้เสียภาษีได้อทธรณ์การประเมินหรือ
ุ
ิ
้
ได้ฟองคดีต่อศาลภาษีอากรแล้วผลการพจารณาเปลี่ยนแปลงไป เช่น ให้เพกถอนการประเมิน หรือให้ลด
ิ
หรือยกเว้นภาษีเช่นนี้ กระบวนการยึด อายัด และขายทอดตลาดที่ได้ด าเนินการไปแล้วท าให้ผู้เสียภาษีหรือ
ผู้มีส่วนได้เสียเสียหายก็อาจจะท าให้เจ้าหน้าที่ถูกฟองคดี แต่กรณีของกรมสรรพสามิตได้มีพระราชบัญญัติ
้
ภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 มาตรา 143 วรรคสาม ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้
ุ
้
ในระหว่างระยะเวลาอทธรณ์ตามมาตรา 93 หรือระยะเวลาที่ให้ยื่นฟองคดีต่อศาลตามมาตรา 99 และ
ตลอดระยะเวลาที่ท าการพิจารณาอุทธรณ์หรือพิจารณาคดีของศาล เว้นแต่เป็นของสดของเสียได้ให้อธิบดีมี
อ านาจที่จะขายได้ทันทีโดยวิธีการขายทอดตลาดหรือวิธีอื่นที่สมควรและได้เงินเป็นจ านวนสุทธิเท่าใดให้ยึด
ไว้แทนทรัพย์สินนั้น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
พ.ศ.2562 มาตรา 66 ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้เสียภาษีตามมาตรา 62 จะกระท า
มิได้ในระหว่างระยะเวลาที่ให้คัดค้านหรืออทธรณ์ตามมาตรา 73 หรือให้ฟองคดีต่อศาลตามมาตรา 82
ุ
้
ุ
และตลอดเวลาที่การพจารณาและวินิจฉัยค าคัดค้านหรืออทธรณ์ดังกล่าวยังไม่ถึงที่สุด และพระราชบัญญัติ
ิ
ภาษีป้าย พ.ศ. 2510 มาตรา 21 วรรคสาม ก าหนดว่าการขายทอดตลาดทรัพย์สินจะกระท ามิได้ใน
ระหว่างระยะเวลาอทธรณ์ตามมาตรา 30 มาตรา 31 มาตรา 32 หรือมาตรา 33 เว้นแต่ทรัพย์สินนั้นจะ
ุ
เป็นของเสียง่าย ซึ่งประมวลรัษฎากร และพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. 2560 มิได้ก าหนดห้ามมิให้ขาย
ทอดตลาดในกรณีดังกล่าว ดังนั้น เมื่อผู้ค้างภาษีอากรไม่ได้รับการอนุมัติให้ได้รับการทุเลาการช าระภาษีใน
ระหว่างอทธรณ์หรือการฟองคดีต่อศาล กรมสรรพากรและกรมศุลกากรย่อมมีอานาจขายทอดตลาด
้
ุ
ทรัพย์สินที่ยึดไว้ได้ แต่กรมสรรพสามิตและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กรณีภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
และภาษีป้าย) ไม่สามารถท าการขายทอดตลาดได้ จึงเป็นข้อน่าคิดว่าเหตุใดพระราชบัญญัติภาษี
สรรพสามิต พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติภาษีป้าย
พ.ศ.2510 จึงบัญญัติอานาจการขายทอดตลาดไว้แตกต่างจากประมวลรัษฎากรและพระราชบัญญัติ
ุ
ศุลกากร พ.ศ. 2560 หรือหน่วยงานจัดเก็บภาษีดังกล่าวเห็นว่าหากผลการพจารณาอทธรณ์และ
ิ
ค าพิพากษาของศาลเปลี่ยนแปลงไปก็จะไม่ทาให้ผู้เสียภาษีเสียหายมากเกินไป
4. ปัญหาการบังคับใช้มาตรการทางปกครองโดยการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของ
ผู้ค้างภาษีอากรมีสภาพบังคับยังไม่เท่าเทียมกับการยึด อายัดและขายทอดตลาดในชั้นบังคับคดี
5 ค าพิพากษาศาลฎีกาที่ 1896/2543