Page 216 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 216
๒๐๓
้
สอบข้อเท็จจริงหรือเบิกความเป็นพยานต่อศาล,ค่าคัดถ่ายเอกสารและค่าทนายความ (หากแพคดี) ฯลฯ
ิ
เมื่อพจารณาถึงค่าใช้จ่ายในการด าเนินคดีที่ต้องเสียไปกับค่าภาษีที่จะได้รับแล้ว ท าให้องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นต้องเสียเงินงบประมาณของแผ่นดินโดยไม่จ าเป็น ดังนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ใช้
อานาจด าเนินการตามที่กฎหมายและระเบียบของทางราชการให้อานาจไว้ตั้งแต่ต้นแล้ว ย่อมจะส่งผลให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ ประหยัดงบประมาณของแผ่นดินในการด าเนินคดีและประหยัดเวลาของ
บุคคลากรของรัฐได้เป็นอย่างยิ่ง รวมทั้งการใช้อานาจดังกล่าวย่อมมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าการ
ด าเนินคดีทางศาล ซึ่งจะท าให้มีประสิทธิผลในการเร่งรัดหนี้ภาษีอากรค้าง
ปัญหาดังกล่าวเกิดจากข้อขัดข้องในการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินดังนี้
๒.1 เนื่องจากการใช้อานาจดังกล่าวเป็นการกระทบสิทธิของประชาชนโดยตรง ท าให้
ผู้บริหารส่วนท้องถิ่นซึ่งมาจากการเลือกตั้งอาจไม่เห็นด้วยกับการด าเนินการดังกล่าว เพราะเกรงกลัว
อิทธิพลหรือกลัวเสียฐานเสียง
2.๒ ปัญหาการไม่สามารถเข้าถึงตัวทรัพย์ของลูกหนี้ผู้ค้างช าระภาษี เนื่องจากไม่ได้รับ
ความร่วมมือจากผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ในกระบวนการสืบหาทรัพย์สินของ
ลูกหนี้ ผู้ค้างภาษี โดยมักจะถูกปฏิเสธการให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล เช่น ธนาคารพาณิชย์ ส านักงาน
ที่ดิน ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองก็ไม่มีอ านาจใด ๆ ในการเรียกบุคคลเพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ใน
การด าเนินการแต่อย่างใด
๒.3 ปัญหาบุคลากรมีจ านวนน้อย ขาดความรู้ ความเข้าใจและแนวทางที่ชัดเจนในการใช้
อ านาจยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สิน
๒.4 พนักงานเจ้าหน้าที่มีความเสี่ยงต่อการถูกโต้แย้งความถูกต้องในจ านวนหนี้ภาษี
ดังนั้น เมื่อออกค าสั่งยึดและอายัดแล้ว หากคดีอยู่ระหว่างอทธรณ์หรือฟองคดีต่อศาลก็ยังไม่สามารถขาย
ุ
้
ทอดตลาดทรัพย์สินได้
2
3. ปัญหากรณีด าเนินการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรไปแล้ว ต่อมา
ิ
คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์หรือศาลภาษีอากรกลางได้วินิจฉัยหรือพพากษาให้เพิกถอนการประเมิน
เมื่อเจ้าพนักงานได้แจ้งการประเมินภาษีอากรไปยังผู้เสียภาษีแล้ว ผู้เสียภาษีต้องช าระภาษีตามการ
ุ
ุ
ุ
ประเมินภายในระยะเวลาที่ก าหนด หากผู้เสียภาษีอทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอทธรณ์ การอทธรณ์
ไม่เป็นการทุเลาการช าระภาษีอากร หมายความว่า ผู้เสียภาษีต้องช าระภาษีให้ครบถ้วนเสียก่อนหรือต้อง
ยื่นขอทุเลาการช าระภาษี เช่น วางหลักประกัน เป็นต้น มิฉะนั้นเจ้าพนักงานจะใช้มาตรการทางปกครอง
ด้วยวิธีการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากรได้ แต่ถ้าเป็นกรณีผู้เสียภาษี
ุ
ไม่อุทธรณ์การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอทธรณ์ หนี้ภาษีตามการประเมินย่อมเป็นอันยุติ
ค าพพากษาศาลฎีกาที่ 8103/2560 จ าเลยได้รับแบบแจ้งการประเมินโดยชอบด้วย
ิ
กฎหมายหรือไม่ เมื่อจ าเลยไมได้กล่าวอางประเด็นดังกล่าวไว้ในค าให้การ ถือว่าอุทธรณ์ของจ าเลยเป็นข้อที่
่
้
ุ
ไม่ได้ยกขึ้นว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลภาษีอากรกลาง ต้องห้ามมิให้อทธรณ์ เมื่อจ าเลยได้รับแจ้งการ
ประเมินอากรขาเข้า/ขาออก ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพมและภาษีอนๆ ในวันที่ 30 สิงหาคม 2556
ื่
ิ่
ุ
หากจ าเลยไม่เห็นด้วยกับการประเมินไม่ว่าด้วยเหตุผลใดๆ จ าเลยชอบที่จะใช้สิทธิอทธรณ์การประเมินของ
เจ้าพนักงานต่อคณะกรรมการพจารณาอทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งการประเมิน
ุ
ิ
ั
ุ
เมื่อจ าเลยไม่ได้ใช้สิทธิอทธรณ์ แสดงว่าจ าเลยไม่ติดใจโต้แย้งการประเมินนั้น อนมีผลให้การประเมินของ
2 ส านักงานคดีภาษีอากร ส านักงานอัยการสูงสุด คู่มือการด าเนินคดีภาษีส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2560 หน้า 82-83