Page 208 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 208

๑๙๕




                 ปัญหาอยู่บ้าง ดังนั้นหากเข้าใจสภาพปัญหาของหน่วยงานจัดเก็บภาษีและผลักดันให้หน่วยงานดังกล่าว
                 บังคับคดีโดยใช้มาตรการทางปกครองด้วยวิธีการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร

                 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ย่อมส่งผลให้ปริมาณคดีในศาลลดลงได้


                        บทความนี้จึงขอกล่าวถึงหลักกฎหมายที่ให้อานาจหน่วยงานของรัฐในการใช้มาตรการบังคับช าระ
                 หนี้ค่าภาษีอากรค้างโดยการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร ระเบียบและ
                 แนวทางปฏิบัติของกรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ
                                ิ
                 ทั่วไป รวมทั้งค าพพากษาศาลฎีกา และปัญหาข้อขัดข้อง ตลอดจนผลกระทบที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการบังคับใช้
                 มาตรการยึด อายัดและขายทอดตลาดทรัพย์สินของผู้ค้างภาษีอากร  พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา
                 เกี่ยวกับการบังคับใช้มาตรการดังกล่าว


                 ทฤษฎีและบทวิเครำะห  ์


                        การบังคับทางปกครองเป็นกระบวนการที่มุ่งหมายให้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามค าสั่งทางปกครอง
                       ื่
                 หรือเพอให้ค าสั่งทางปกครองบรรลุผลโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการทางศาล ซึ่งเรียกว่ามาตรการบังคับทาง
                 ปกครอง
                        การท าให้กฎหมายเกิดความศักดิ์สิทธิ์และประชาชนเคารพเชื่อฟงปฏิบัติตาม กฎหมายจึงต้องมี
                                                                              ั
                 สภาพบังคับ และเพื่อให้สภาพบังคับมีผลในทางปฏิบัติจึงมีกระบวนการใช้มาตรการบังคับ ได้แก่ การบังคับ

                                                                                       ิ

                 คดี ซึ่งเป็นกระบวนการที่องค์กรตุลาการใช้อานาจรัฐในการบังคับให้เป็นไปตามค าพพากษา แต่เนื่องจาก
                 การบังคับคดีโดยองค์กรตุลาการมีขั้นตอนและกระบวนการที่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ประกอบกับศาลมีคดีที่
                 จะต้องพจารณาเป็นจ านวนมาก จึงท าให้การบังคับคดีโดยศาลมีความล่าช้าและบางคดีมีทุนทรัพย์น้อย
                        ิ
                 ไม่คุ้มค่ากับค่าใช้จ่ายในการด าเนินคดี และด้วยเหตุผลความจ าเป็นในการด าเนินงานทางปกครองซึ่งต้องการ
                                                                                              ื่
                 แก้ไขปัญหาที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์และความต่อเนื่องในการด าเนินภารกิจทางปกครองเพอตอบสนอง
                 และคุ้มครองประโยชน์สาธารณะได้อย่างทันท่วงที ดังนั้นในกรณีที่ผู้มีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามค าสั่งทาง

                 ปกครองฝ่าฝืนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามค าสั่งทางปกครอง กฎหมายจึงได้บัญญัติให้องค์กรฝ่ายปกครองใน
                                                 ื่

                 ฐานะที่เป็นผู้ด าเนินกิจการของรัฐเพอประโยชน์สาธารณะมีอานาจบังคับการให้เป็นไปตามค าสั่งทาง
                                                              1
                 ปกครองได้เองโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการทางศาลก่อน
                        มาตรการบังคับทางปกครองมีที่มาจากพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539


                 ซึ่งให้อานาจเจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถออกค าสั่งทางปกครองเพอให้วัตถุประสงค์ของกฎหมายนั้นๆ
                                                                         ื่

                 บรรลุผล โดยทั่วไปแล้วการที่เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองจะออกคาสั่งทางปกครองใด ๆ เพื่อบังคับกับประชาชน
                 จะต้องแจ้งให้ผู้รับค าสั่งทราบล่วงหน้าก่อน หากผู้รับค าสั่งไม่เห็นด้วยหรือมีข้อโต้แย้งคัดค้าน ก็สามารถ




                        1  ปิยฉัตร กุลรักษา.(2560) มาตรการบังคับทางปกครองตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ.2560 [ออนไลน์].
                 เข้าถึงได้จาก :http://www.customs.go.th datd_files pdf (วันที่ค้นข้อมูล 20 เมษายน 2564)
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213