Page 310 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 310

๒๙๗


               บทบัญญัติในเรื่องดังกล่าวจะสอดคล้องกับหลักนิติธรรมโดยทั่วไป ในเรื่องของกฎหมายที่ดีต้องมีความชัดเจน

                                                        ุ
               กระบวนการยุติธรรมที่ดีต้องเปิดโอกาสให้มีการอทธรณ์ และกระบวนการยุติธรรมต้องเปิดโอกาสให้ประชาชน
               เข้าถึงได้โดยสะดวก ไม่ขักช้า ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม รวมทั้งปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนในเรื่องสิทธิใน

               การได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียม สิทธิการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย

               และสิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน ตลอดจนหลักความเสมอภาคเบื้องหน้ากฎหมาย
                                      ั
               ที่ฝ่ายตุลาการมีความผูกพนต่อหลักความเสมอภาคในเรื่องความเสมอภาคของประชาชนต่อการฟองศาล
                                                                                                    ้
                                                                       ั
               โดยประชาชนมีสิทธิที่จะโต้แย้งและฟองร้องการกระท าของรัฐ อนเป็นสิทธิที่รับรองคุ้มครองให้ประชาชน
                                               ้
                                                     ิ
               สามารถฟองศาลได้ รวมถึงการน าบรรดาข้อพพาทระหว่างประชาชนด้วยกันขึ้นสู่ศาลได้โดยไม่มีข้อจ ากัด ทั้งนี้
                       ้
               ภายใต้เงื่อนไขของกฎหมายวิธีพจารณาความของเรื่องนั้น ๆ และความเสมอภาคในการใช้กฎหมายโดยศาล
                                          ิ
               ซึ่งห้ามมิให้ศาลใช้อานาจโดยอาเภอใจ และบุคคลมีสิทธิในการเรียกร้องอย่างเท่าเทียมกันกับการให้เจ้าหน้าที่


                                                                 ๗
               ของรัฐใช้ดุลพินิจอย่างปราศจากข้อบกพร่อง หรือไม่ เพียงใด
                                      ิ
                                                                                ุ
                           ในกรณีที่ค าพพากษาของสองชั้นศาล คือ ศาลชั้นต้นและศาลอทธรณ์แตกต่างกันสิ้นเชิง เช่น
                                                                           ้
               ศาลชั้นต้นพพากษาให้โจทก์ขนะคดีแต่ศาลอทธรณ์พพากษากลับให้ยกฟอง หรือศาลชั้นต้นพิพากษาให้ยกฟอง
                                                           ิ
                                                    ุ
                         ิ
                                                                                                        ้
                             ิ
                       ุ
                                                                ิ
               แต่ศาลอทธรณ์พพากษากลับให้โจทก์ชนะคดี ถือได้ว่าค าพพากษายังไม่มีแน่นอนหรือยังไม่มีข้อยุติ หากศาล
               ฎีกาไม่อนุญาตให้ฎีกาอาจกระทบต่อความเป็นธรรมของคู่ความเพราะศาลสองศาลห็นต่างกัน และคู่ความอาจ
               ยังไม่ยอมรับนับถือหรือเคารพในค าพพากษาสมควรให้ศาลฎีกาซึ่งเป็นศาลสูงสุดของประเทศพจารณาและ
                                                                                                ิ
                                               ิ
                                ื่
                 ิ
                        ี
               พพากษาอกครั้ง เพอให้เกิดความเป็นธรรมและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ซึ่งจะสอดคล้องกับหลักความ
               ศักดิ์สิทธิ์แห่งค าพพากษา (ResJudicata) อนเป็นหลักเกณฑ์ที่มีความส าคัญที่สุดประการหนึ่งของกฎหมายวิธี
                                                   ั
                              ิ
                                                                   ิ
                                           ิ
               พจารณาความ กล่าวคือ เมื่อค าพพากษาหรือค าสั่งขี้ขาดข้อพพาทแห่งคดีอันเป็นยุติแล้วก็ควรที่คู่ความและ
                 ิ
               ประชาชนจะต้องยอมรับและมีความเคารพในเหตุผล และผลแห่งค าตัดสินนั้นควรได้รับความเสื่อมใสและ
                                                                                  ุ
                                                       ิ
               ศรัทธาจากผู้ใช้กฎหมายและประชาชน แต่ค าพพากษาของศาลชั้นตันและศาลอทธรณ์ที่พพากษาแตกต่างกัน
                                                                                          ิ
               ดังกล่าวควรที่จะให้ศาลสูงหรือศาลฎีกาเป็นผู้วินิจฉัยขี้ขาดอีกครั้ง

               ข้อเสนอแนะ
                           จากการศึกษา จึงขอเสนอให้มีการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงโดยระบุขอบเขต
                                                                                           ่
                                                                              ิ
                                                                             ิ
               คดีที่สามารถขออนุญาตฎีกาได้ดังกล่าวให้ชัดเจนซึ่งจะท าให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลฎีกาเป็นไปโดย
                                                                      ิ
               รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเพอให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลฎีกาและเป็นการ
                                                ื่
               แก้ไขปัญหาในเรื่องความเชื่อมั่นต่อค าพพากษาศาลอทธรณ์และแก้ไขปัญหาการใช้ดุลพนิจในการพจารณา
                                                 ิ
                                                             ุ
                                                                                                    ิ
                                                                                          ิ
               ค าร้องขออนุญาตฎีกา ดังนี้
                            ๑. เสนอแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาตรา ๒๔๔/๑ ดังนี้
                                     ้
                                                                             ่
                                                                                                ิ
                           จากมาตรา ๒๔๔/๑ ที่บัญญัติว่า “มาตรา ๒๔๔/๑ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๔๗ ค าพพากษาหรือ
               ค าสั่งของศาลอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด”
               _____________________
                      ๗ คณะกรรมาธิการกฎหมายการยุติธรรม และการต ารวจ วุฒิสภา ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา.เรื่องเดิม หน้า ๖๒
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315