Page 306 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 306
๒๙๓
ื่
ผู้วางแนวบรรทัดฐานและการตีความข้อกฎหมายที่ส าคัญเพอให้ค าพิพากษาของศาลเป็นเอกภาพ แต่หากคดีใด
ิ
ิ
ิ
์
ค าพพากษาของสองศาลต่างชั้นกัน เช่นศาลชั้นต้นพพากษาให้โจทกชนะคดีแต่ศาลอทธรณ์พพากษากลับให้ยก
ุ
ิ
ิ
ฟอง หรือศาลชั้นต้นพพากษาให้ยกฟองแต่ศาลอทธรณ์พพากษากลับให้โจทก์ชนะคดี หากศาลฎีกาไม่อนุญาต
้
้
ุ
ิ
ให้ฎีกาก็อาจเกิดความไม่เป็นธรรมเพราะสองศาลเห็นต่างกัน จึงควรให้ศาลฎีกาซึ่งเป็นศาลสูงสุดพจารณา
ิ
พพากษาอกครั้ง เพอให้เกิดความเป็นธรรมและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด จึงเห็นว่าควรมีการแก้ไขกฎหมาย
ื่
ี
ิ
ิ
เกี่ยวการยื่นฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งใหม่ ส่วนคดีที่ศาลอุทธรณ์พพากษายืนนั้นได้ผ่านการพิจารณามาถึงสอง
ชั้นศาลและศาลอุทธรณ์เห็นพ้องด้วยแล้วจึงควรให้คดีประเภทนี้ถึงที่สุดในชั้นอุทธณ์
๒. หลักเกณฑการพิจารณาในการขออนุญาตฎีกา
์
ปัญหาในการพิจารณาในการขออนุญาตฎีกาบางคดีศาลฎีกาไม่อาจที่จะพิจารณาเฉพาะค าร้อง
ขออนุญาตฎีกาของคู่ความแต่เพยงประการเดียวได้ แต่ในทางปฏิบัติงานจริงผู้พพากษาต้องใช้ความละเอยด
ี
ิ
ี
ิ
รอบคอบและต้องพจารณาในเนื้อหาฎีกาของคู่ความที่ขออนุญาตฎีกาและส านวนคดีทั้งหมดประกอบกับ
หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ฎีกาตามกฎหมายด้วยเพอน ามาพิจารณาวินิจฉัยว่าการขออนุญาตฎีกาของคู่ความนั้น
ื่
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ควรจะได้มีค าสั่งอนุญาตให้ฎีกาหรือไม่ ทั้งต้องค านึงด้วยว่าหากอนุญาตให้ฎีกาโดยง่าย
ี
ิ่
ก็จะเป็นภาระในการพจารณาพพากษาของศาลฎีกาต่อไปจนอาจท าให้เกิดปัญหาปริมาณคดีเพมขึ้นอก แต่หาก
ิ
ิ
พจารณาอย่างเคร่งครัดไม่อนุญาตให้ฎีกามากเกินไปซึ่งท าให้คดียุติไปตามค าพพากษาหรือค าสั่งศาลอทธรณ์
ิ
ุ
ิ
ิ
อาจมีข้อผิดพลาดบกพร่องบ้าง ก็อาจท าให้เสียความยุติธรรมได้ การพจารณาวินิจฉัยค าร้องขออนุญาตฎีกา
จึงต้องใช้เวลานานพอสมควร โดยตามข้อก าหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพง
่
ึ
ิ
ิ
พ.ศ. ๒๕๕๘ ข้อ ๑๒ ก าหนดให้องค์คณะผู้พพากษาพงพจารณาวินิจฉัยและมีค าสั่งค าร้องขออนุญาตฎีกาให้
แล้วเสร็จภายใน ๑ เดือน นับแต่วันที่ได้รับส านวน นอกจากนี้หลังจากองค์คณะผู้พพากษาศาลฎีกาท าค าสั่งค า
ิ
ิ
ร้องดังกล่าวแล้วเสร็จ ก็ยังต้องผ่านกระบวนการตรวจร่างค าสั่งของกองผู้ช่วยผู้พพากษาศาลฎีกาและ
กระบวนการพิจารณาสั่งออกร่างคาสั่งของผู้บริหารผู้รับผิดชอบราชการศาลฎีกาก่อนที่จะส่งค าสั่งศาลฎีกาไปให้
่
ศาลชั้นต้นอานให้คู่ความฟง ซึ่งต้องใช้เวลาอกระยะหนึ่ง หากมีการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกาในคดีแพงจ านวน
่
ั
ี
มากก็ย่อมมีผลท าให้ศาลฎีกาไม่สามารถพจารณาคดีที่ค้างพจารณาอยู่ให้เสร็จสิ้นไปด้วยความรวดเร็วได้ แม้ว่า
ิ
ิ
ปริมาณคดีแพงรับใหม่ของศาลฎีกาจะลดลงแล้วก็ตามและถ้าศาลฎีกายังคงอยู่ในสภาวะที่มีปริมาณคดีค้าง
่
พจารณาสะสมเพมขึ้นอย่างต่อเนื่องอก การแก้ไขกฎหมายเปลี่ยนระบบการฎีกาจากระบบสิทธิเป็นระบบ
ิ่
ี
ิ
อนุญาต ตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘
่
ิ
ิ่
จึงยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลฎีกาได้เท่าที่ควร
ิ
ิ่
๓. พระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘
่
ได้แก้ไขมาตรา ๒๔๙ ให้ศาลฎีกาพิจารณาอนุญาตให้ฎีกาได้เมื่อเห็นว่าปัญหาที่ฎีกาเป็นปัญหาส าคัญที่ศาลฎีกา
ควรวินิจฉัย โดยปัญหาส าคัญนี้ได้แก ่
(๑) ปัญหาที่เกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ หรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน
ุ
(๒) เมื่อค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ได้วินิจฉัยข้อกฎหมายที่ส าคัญขัดกันหรือขัดกับ
ิ
แนวบรรทัดฐานของค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลฎีกา