Page 302 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 302

๒๘๙


               ซึ่งเป็นการเริ่มต้นการเปลี่ยนแปลงระบบการฎีกาจากระบบสิทธิมาเป็นระบบอนุญาตในประมวลกฎหมายวิธี

                               ่
                                                                                       ิ
               พจารณาความแพงของประเทศไทย และหากศาลฎีกาไม่อนุญาตให้ฎีกาแล้วค าพพากษาหรือค าสั่งของ
                 ิ

                    ุ
               ศาลอทธรณ์ย่อมถึงที่สุด โดยยังคงหลักการเดิมให้ศาลฎีกามีอานาจวินิจฉัยทั้งปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหา
               ข้อกฎหมาย คู่ความในคดีจึงสามารถฎีกาได้ทั้งปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาข้อกฎหมาย เพยงแต่ต้องได้รับ
                                                                                             ี
               อนุญาตจากศาลฎีกาก่อน ภายใต้หลักเกณฑ์ของการฎีการะบบอนุญาตในคดีแพงตามประมวลกฎหมายวิธี
                                                                                    ่
                                                                                       ิ่
                              ่
               พิจารณาความแพงที่แก้ไขเพมเติมดังกล่าว โดยสาระส าคัญของพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมาย
                                       ิ่
               วิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ.๒๕๕๘ มีดังนี้
                           ๑. ยกเลิกการอทธรณ์เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายโดยตรงต่อศาลฎีกาตามมาตรา ๒๒๓ ทวิ เพอให้
                                       ุ
                                                                                                      ื่
               คดียุติที่ศาลอุทธรณ์เป็นหลัก และสอดคล้องกับการแก้ไขหลักการในการฎีกาให้เป็นระบบอนุญาต
                           ๒. เพิ่มบทบัญญัติมาตรา ๒๔๔/๑ ซึ่งมีความว่า ภายใต้บังคับมาตรา ๒๔๗ ค าพิพากษาหรือค าสั่ง
               ของศาลอุทธรณ์ให้เป็นที่สุด เพื่อให้สอดคล้องกับการแก้ไขหลักการในการฎีกาให้เป็นระบบอนุญาต

                           ๓. แก้ไขมาตรา ๒๔๗ ก าหนดให้การฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ในคดีแพง
                                                                                           ุ
                                                                   ิ
                                                                                                         ่
               จะกระท าได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา โดยการขออนุญาตฎีกาให้ยื่นค าร้องพร้อมกับค าฟองฎีกาต่อศาล
                                                                                              ้
               ชั้นต้นที่มีค าพิพากษาหรือค าสั่งในคดีนั้น
                                                                ิ
                           ๔. แก้ไขมาตรา ๒๔๘ ก าหนดให้องค์คณะผู้พพากษาที่ประธานศาลฎีกาแต่งตั้ง ซึ่งประกอบด้วย
               รองประธานศาลฎีกาและผู้พพากษาในศาลฎีกาซึ่งด ารงต าแหน่งไม่ต่ ากว่าผู้พพากษาศาลฎีกาอกอย่างน้อย
                                        ิ
                                                                                                ี
                                                                                 ิ
               สามคนเป็นผู้พิจารณาค าร้องขออนุญาตฎีกา
                                                                ิ
                           ๕. แก้ไขมาตรา ๒๔๙ ก าหนดให้ศาลฎีกาพจารณาอนุญาตให้ฎีกาได้เมื่อเห็นว่าปัญหาที่ฎีกา
               เป็นปัญหาส าคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัย โดยปัญหาส าคัญนี้ได้แก  ่

                           (๑) ปัญหาที่เกี่ยวพันกับประโยชน์สาธารณะ หรือความสงบเรียบร้อยของประชาชน
                           (๒) เมื่อค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ได้วินิจฉัยข้อกฎหมายที่ส าคัญขัดกันหรือขัดกับ
                                     ิ
                                                            ุ
               แนวบรรทัดฐานของค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลฎีกา

                                                                                                    ิ
                           (๓) ค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ได้วินิจฉัยข้อกฎหมายที่ส าคัญซึ่งยังไม่มีแนวค าพพากษา
                                 ิ
                                                       ุ
               หรือค าสั่งของศาลฎีกามาก่อน

                                                           ุ
                           (๔) เมื่อค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ขัดกับค าพิพากษาหรือคาสั่งอันถึงที่สุดของศาลอื่น
                           (๕) เพื่อเป็นการพัฒนาการตีความกฎหมาย
                           (๖) ปัญหาส าคัญอื่นตามข้อก าหนดของประธานศาลฎีกา

                                ิ่

                           ๖. เพมบทบัญญัติมาตรา ๒๕๐ ให้ประธานศาลฎีกามีอานาจออกข้อก าหนดโดยได้รับความ
                                                                                                    ิ
               เห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกา การพจารณา
                                                                                  ิ
                                                                                                 ิ
               วินิจฉัยและระยะเวลาในการพิจารณาค าร้อง การตรวจรับฎีกา การแก้ฎีกา การพจารณา และการพพากษาคดี
               รวมทั้งสั่งคืนค่าฤชาธรรมเนียมในชั้นฎีกา ซึ่งต่อมาประธานศาลฎีกาออกข้อก าหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วย
                                        ่
               การขออนุญาตฎีกา ในคดีแพง พ.ศ.๒๕๕๘  เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ และข้อก าหนดของประธาน
                                                      ่
               ศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพนธ์ ๒๕๖๔
                                                                                                ั
   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307