Page 298 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 298

๒๘๕


                      ิ
                แก้ไขเพ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ.๒๕๕๘ แก้ไขหลักเกณฑ์ให้
                                          ุ
               ค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์เป็นที่สุด เว้นแต่ได้รับอนุญาตให้ฎีกาจากศาลฎีกา โดยคู่ความต้องท า
                                    ้
                                                        ั
               เป็นค าร้องพร้อมกับค าฟองฎีกาไปยังศาลฎีกา อนเป็นการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การยื่นฎีกาจากระบบสิทธิ
               (Appeal as of Rights) เป็นระบบอนุญาต (Discretionary Appeal) และเป็นการเปลี่ยนความยุติธรรมตาม
                                                                                        ่
                                                                          ิ
               หลักกฎหมายและหลักนิติธรรมซึ่งบัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงที่ให้ประชาชนหรือ
               คู่ความมีสิทธิอุทธรณ์ค าพพากษาศาลอุทธรณ์ไปยังศาลฎีกาได้นั้น เป็นให้ค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์
                                    ิ
                                                                                             ี
               เป็นที่สุด โดยประชาชนหรือคู่วามมีสิทธิแสวงหาความยุติธรรมได้ ๓ ชั้นศาล ก็จะเหลือเพยง ๒ ศาล คือ
               ศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์เท่านั้น ท าให้เกิดความไม่เสมอภาคในสิทธิที่จะฎีกาคดีของประชาชน

               แนวคิดและทฤษฎีในการอุทธรณ์ฎีกา
                           แนวความคิดในการอุทธรณ์ฎีกาสืบเนื่องมาจาก “หลักความเป็นที่สุดแห่งค าพิพากษา”
                                                                ิ
               (Res Judicata) ที่ว่า เมื่อมีค าพิพากษาหรือค าสั่งชี้ขาดข้อพพาทแห่งคดีอันเป็นที่ยุติแล้ว คู่ความและประชาชน
               ก็ควรที่จะต้องยอมรับนับถือและมีความเคารพในเหตุและผลของค าตัดสิน และค าตัดสินนั้นควรได้รับความ
               เลื่อมใสและศรัทธาจากผู้ใช้กฎหมายและประชาชน แต่ในทางธรรมดาสามัญนั้นศาลหรือผู้พพากษาก็ย่อมเป็น
                                                                                           ิ
               ปุถุชนธรรมดาที่อาจเกิดความพลั้งเผลอหรือผิดพลาดในการพจารณาพพากษาคดีได้ ไม่ว่าในกรณีเกี่ยวกับการ
                                                                          ิ
                                                                  ิ
               ฟงข้อเท็จจริง หรือการใช้กฎหมายมาปรับกับข้อเท็จจริง หรือการด าเนินกระบวนพจารณาต่าง ๆ ผลของคดีที่
                 ั
                                                                                    ิ
               เกิดจากการตัดสินที่ผิดพลาดไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายและไม่เป็นธรรมต่อ
               คู่ความและสังคม หากไม่ยอมให้ประชาชนมีสิทธิที่จะอทธรณ์ฎีกาค าวินิจฉัยที่ผิดพลาด อาจท าให้ประชาชนที่
                                                             ุ
               หวังจะได้รับความยุติธรรมจากศาลกลับไปใช้วิธีการอื่นเพื่อยุติหรือระงับข้อพิพาทของตนซึ่งอาจเป็นการใช้ก าลัง

               รุนแรงและก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยในบ้านเมืองได้ นอกจากนี้การให้โอกาสประชาชนที่ไม่พอใจ
               ค าวินิจฉัยของศาลชั้นต้นอุทธรณ์ฎีกาต่อศาลที่สูงกว่าเพอเป็นการกลั่นกรองอีกชั้นหนึ่งหรือสองชั้น โดยให้ศาลที่
                                                            ื่
               สูงกว่าซึ่งมีประสบการณ์มากกว่าช่วยตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดบกพร่องของศาลล่างยังเป็นการสร้าง
               หลักประกันและความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนว่าคดีของตนจะได้รับการวินิจฉัยด้วยความถูกต้อง เที่ยงธรรม
               และรอบคอบอกด้วยจึงอาจกล่าวได้ว่า การอทธรณ์ฎีกามีวัตถุประสงค์หลักเพอคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ
                                                    ุ
                                                                               ื่
                            ี
                                                                                                 ิ
               ประชาชนโดยให้ศาลที่สูงกว่าตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องในการพจารณาพพากษาคดี
                                                                                         ิ
                                                 ิ
               ของศาลล่างโดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพอพจารณาคดีนั้นซ้ าใหม่อกครั้งหนึ่งเพราะคดีนั้นได้พจารณาเสร็จสิ้นโดย
                                                                    ี
                                                                                          ิ
                                               ื่
               ค าพิพากษาศาลชั้นต้นอันมีผลบังคับตามกฎหมายแล้ว ๑
                                                                                           ิ
                                                             ิ
                      จากเหตุผลของหลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งค าพพากษา (Res Judicata) ถือว่าค าพพากษาน่าจะเป็น
               ค าตัดสินที่ดีที่สุดและเป็นข้อยุติได้นี้ ท าให้เห็นกันว่าโดยหลักทั่วไปเมื่อมีค าพพากษาอย่างไรแล้วก็ควรจะยุติได้
                                                                              ิ
                                          ี
               ไม่ควรจะให้มีการอทธรณ์ฎีกาอกต่อไป เว้นแต่เฉพาะกรณีที่เกิดข้อผิดพลาดจริง ๆ เท่านั้นเพอที่จะท าให้
                                                                                               ื่
                                ุ
                                                          ุ
                                               ิ
               ประชาชนเกิดจิตส านึกเคารพต่อค าพพากษา ไม่อทธรณ์ฎีกาอย่างไร้เหตุผลหรืออาศัยอทธรณ์ฎีกาเป็นการ
                                                                                         ุ
                          ื่
               ประวิงคดีเพอหน่วงเหนี่ยวการบังคับคดีให้ช้าลง แต่ค าพพากษาของศาลชั้นต้นอาจมีความบกพร่องหรือ
                                                                 ิ
               ความไม่ถูกต้องได้ จึงควรที่จะมีการตรวจสอบโดยศาลสูงก่อนจึงจะเป็นที่สุด หลักความเป็นที่สุดของ
               ค าพพากษา (Res Jud!cata) ปัจจุบันจึงใช้ในลักษณะที่เกี่ยวกับการห้ามด าเนินกระบวนพจารณาซ้ าหรือห้าม
                   ิ
                                                                                          ิ
               ฟ้องซ้ าในคดีที่ศาลได้มีค าพพากษาแล้ว
                                               ๒
                                     ิ
               ______________________
                       ๑
                        คมกฤช  เทียนทัด “แนวทางการพัฒนาระบบการอนุญาตให้ฎีกาในคดีแพ่ง,” เอกสารวิจัย.วิทยาลัยป้องกัน
               ราชอาณาจักร ๒๕๖๑ หน้า ๖ – ๘
                      ๒ คณะกรรมาธิการกฎหมาย การยุติธรรม และการต ารวจ วุฒิสภา ส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา รายงานการพิจารณา
               ศึกษา “กรณีการฎีกาค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์จะกระท าได้เมื่อได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา,” ๒๕๖๓ หน้า ๒๗
   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303