Page 300 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 300

๒๘๗


                                                                                              ่
               กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๔๘ (เดิม) แม้ว่าประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๒๔๘
                                    ่
               (เดิม) จะก าหนดให้คดีแพงที่ราคาทรัพย์สินหรือจ านวนทุนทรัพย์ที่พพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
                                                                       ิ
                                                            ั
                       ้
                                                                                            ้
               และคดีฟองขับไล่บุคคลใดๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อนมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าในขณะยื่นค าฟองไม่เกินเดือนละ
               ๑๐,๐๐๐ บาท ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง กับประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๘
                                                                              ิ
                                                               ิ
                                                        ุ
               และมาตรา ๒๑๙ จะก าหนดให้คดีอาญาที่ศาลอทธรณ์พพากษายืนหรือแก้ไขเล็กน้อย และให้ลงโทษจ าคุก
               ไม่เกิน ๕ ปี ตลอดจนคดีอาญาที่ศาลชั้นต้นพพากษาลงโทษจ าคุกจ าเลยไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาท
                                                  ิ
               และศาลอทธรณ์ยังคงลงโทษจ าเลยไม่เกินก าหนดดังกล่าว ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริง อนเป็นการ
                                                                                                 ั
                        ุ
                                                                                      ี
               ก าหนดข้อห้ามในการฎีกาเพอกลั่นกรองมิให้คดีที่กฎหมายเห็นว่าไม่มีความส าคัญเพยงพอขึ้นสู่การพจารณา
                                       ื่
                                                                                                    ิ
               ของศาลฎีกา อย่างไรก็ตามข้อห้ามในการฎีกาดังกล่าวเป็นข้อห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงเท่านั้น ส่วนปัญหา
                                                                                  ิ
               ข้อกฎหมายไม่ว่าจะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใน คดีประเภทใดสามารถน าขึ้นสู่การพจารณาของศาลฎีกาได้เสมอ
               นอกจากนี้แล้วการก าหนดข้อห้ามในการฎีกาปัญหาข้อเท็จจริง กฎหมายก าหนดความส าคัญจากประเภทคดี
               เป็นหลัก เช่นเดียวกับกรณีของข้อห้ามอทธรณ์ในศาลอทธรณ์เมื่อการก าหนดความส าคัญก าหนดจากประเภท
                                                             ุ
                                                ุ
                                                                                       ิ
               คดีดังนั้น เพื่อเปิดโอกาสให้ปัญหาส าคัญในประเภทคดีที่ต้องห้ามฎีกาสามารถขึ้นสู่การพจารณาของศาลฎีกาได้
               จึงได้มีการก าหนดข้อยกเว้นให้น าปัญหาส าคัญในประเภทคดีที่ต้องห้ามฎีกาขึ้นสู่การพจารณาของศาลฎีกาได้
                                                                                       ิ
               กล่าวคือในคดีแพ่งถ้า
                           ๑. ผู้พิพากษาที่ได้นั่งพิจารณาคดีในศาลอุทธรณ์ได้มีความเห็นแย้ง

                                             ิ
                                ิ
                           ๒. ผู้พพากษาที่ได้นั่งพจารณาคดีในศาลชั้นต้นหรือศาลอทธรณ์ได้รับรองว่ามีเหตุสมควรที่จะฎีกาได้
                                                                        ุ
               หรือ
                                                                             ุ
                           ๓. เมื่อได้รับอนุญาตให้ฎีกาเป็นหนังสือจากประธานศาลอทธรณ์ ตามประมวลกฎหมายวิธี
               พิจารณาความแพ่ง มาตรา ๒๔๘ (เดิม)
                           ส่วนในคดีอาญาถ้า

                            ๑. ผู้พพากษาซึ่งพจารณาหรือลงชื่อในค าพพากษาหรือท าความเห็นแย้งในศาลชั้นต้นหรือ
                                 ิ
                                           ิ
                                                                 ิ
               ศาลอุทธรณ์เห็นว่าเป็นปัญหาส าคัญอันควรสู่ศาลสูงสุด และอนุญาตให้ฎีกา หรือ
                                                                                                    ิ
                           ๒. อัยการสูงสุดรับรองว่ามีเหตุอันควรที่ศาลสูงสุดจะได้วินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณา
               ความอาญา มาตรา ๒๒๑

                           จากข้อยกเว้นดังกล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าในการฎีกาปัญหาข้อเท็จจริงในประเภทคดีที่ต้องห้าม
               ฎีกา กฎหมายให้อ านาจบุคคลที่กฎหมายก าหนดเป็นผู้พจารณาความส าคัญของปัญหาที่ควรขึ้นสู่ศาลฎีกาแทน
                                                             ิ
                                                  ื่
               การก าหนดความส าคัญโดยกฎหมาย เพอลดความเคร่งครัดและเปิดโอกาส ให้ปัญหาที่ส าคัญได้ขึ้นสู่การ
               พิจารณาของศาลฎีกาอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งการให้อ านาจแก่บุคคลเพื่อรับรองความส าคัญของปัญหาให้ขึ้นสู่การ

                                                                                         ิ
               พจารณาของศาลฎีกาดังกล่าว นอกจากจะก่อให้เกิดข้อวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการใช้ดุลพนิจในการอนุญาตให้
                 ิ
               ฎีกาของบุคคลดังกล่าวว่า คดีที่ได้รับการอนุญาตหรือรับรองไม่มีความส าคัญอย่างเพยงพอแล้ว ยังก่อให้เกิด
                                                                                      ี
                                                                                              ิ

               ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับความเหมาะสมของการให้อานาจแก่บุคคลดังกล่าวว่าเป็นการให้อ านาจแก่ผู้พพากษาในศาล
                                                                                             ิ
                                              ั

               ที่มีล าดับต่ ากว่าหรือ ให้อานาจแก่อยการสูงสุดซึ่งมีฐานะเสมือนเป็นคู่ความในคดีเป็นผู้พจารณาว่าคดีมี
               ความส าคัญที่ควรขึ้นสู่การพิจารณาของศาลฎีกาหรือไม่ และยังมีผลเท่ากับบุคคลต่างๆเหล่านี้เป็นผู้เพิ่มปริมาณ
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305