Page 305 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 305
๒๙๒
ิ่
พระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมพระธรรมนูญศาลยุติธรรม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๘ ก าหนดค านิยามของศาลชั้น
ื่
ื่
ิ่
ุ
ุ
ิ
อทธรณ์ให้สอดคล้องกับการจัดตั้งศาลอทธรณ์คดีช านัญพเศษ และมีการแก้ไขเพมเติมเรื่องอนๆ เพอความ
สมบูรณ์ของกฎหมายให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการคดีของศาลยุติธรรม การแก้ไขเปลี่ยนแปลงการ
ฎีกาในคดีแพ่งเป็นระบบอนุญาตจึงเป็นย่างก้าวประวัติศาสตร์ครั้งส าคัญยิ่งในกระบวนการยุติธรรมของประเทศ
ไทย เพื่อให้สอดคล้องกับระบบการฎีกาของประเทศต่างๆ ที่พัฒนาแล้ว ซึ่งส่งผลให้ต้องมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เรื่องการอทธรณ์และฎีกาของศาลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดองค์กรของศาล
ุ
ื่
ิ
ครั้งใหญ่ด้วย โดยมีเป้าหมายเพอให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ิ
ซึ่งประโยชน์ที่จะได้ย่อมตกอยู่แก่ประเทศชาติและประชาชนโดยตรง
ปัญหาและผลกระทบ
๑. คู่ความสามารถฎีกาได้โดยไม่มีการจ ากัดประเภทของคดี
่
ิ่
การแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติม
ิ
ิ่
ิ
ประมวลหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผลท าให้ฎีกาได้ทั้งปัญหาข้อเท็จจริงและ
่
ปัญหาข้อกฎหมายและไม่จ ากัดจ านวนทุนทรัพย์ จากคดีที่เคยต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวล
ิ
กฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๔๘ (เดิม) ซึ่งก าหนดราคาทรัพย์สินหรือจ านวนทุนทรัพย์ที่พพาทกัน
่
ิ
ในชั้นฎีกาไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท และคดีฟ้องขับไล่บุคคลใดๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าหรืออาจให้
เช่าได้ในขณะยื่นฟองไม่เกินเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ก็สามารถฎีกาได้ด้วย ส่วนปัญหาข้อกฎหมายซึ่งเดิม
้
สามารถฎีกาได้ก็ต้องขออนุญาตฎีกา ซึ่งการเปลี่ยนระบบฎีกาจากระบบสิทธิเป็นระบบอนุญาตนั้นซึ่งมี
วัตถุประสงค์หลักคือ ต้องการลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลฎีกา แต่อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวอาจไม่บรรลุผล
่
ิ่
ิ
เท่าที่ควรเนื่องจากตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๔๗ ที่แก้ไขเพมเติมโดย
่
ิ
พระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ ยังคงให้
ิ่
คู่ความสามารถขออนุญาตฎีกาได้ทั้งในปัญหาข้อเท็จจริงและปัญหาข้อกฎหมาย แม้มีหลักเกณฑ์ในการ
ิ
พจารณาอนุญาตไว้ก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติการจะอนุญาตให้ฎีกาหรือไม่นั้นเป็นดุลพนิจของศาลฎีกาที่จะเป็น
ิ
ผู้พิจารณาค าร้องขออนุญาตฎีกาของผู้ฎีกาว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือไม่
การขออนุญาตให้ฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงได้นั้นอาจท าให้วัตถุประสงค์ที่ต้องการลดปริมาณคดี
ขึ้นสู่ศาลฎีกาไม่เป็นผลส าเร็จเท่าที่ควร เพราะจะท าให้คู่ความฝ่ายแพคดีในศาลชั้นต้นหรือศาลอทธรณ์ใช้สิทธิ
ุ
้
ขออนุญาตฎีกาเป็นจ านวนมาก และมีค าร้องขออนุญาตฎีกาเข้าสู่การพจารณาของศาลฎีกาเป็นจ านวนมาก
ิ
อนอาจท าให้ผู้พพากษาศาลฎีกาจะต้องใช้เวลาในการท าหน้าที่ตรวจค าร้องขออนุญาตฎีกาและเนื้อหาฎีกาของ
ิ
ั
คู่ความในส่วนที่เป็นการขออนุญาตฎีกาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริง โดยที่ยังไม่ได้เป็นการพจารณาวินิจฉัย
ิ
ตัดสินคดีแต่อย่างใด ซึ่งจะท าให้เกิดการท างานของศาลฎีกาล่าช้าและซ้ าซ้อน ท าให้ไม่เกิดการเคารพ ยอมรับ
ิ
และเชื่อมั่น ในค าพพากษาศาลอทธรณ์ จึงควรก าหนดประเภทคดีให้ฎีกาได้เฉพาะคดีที่ศาลอทธรณ์พพากษา
ุ
ิ
ุ
ิ
ื่
กลับค าพพากษาหรือค าสั่งศาลชั้นต้นและให้ฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายเท่านั้น เพอให้ศาลฎีกาท าหน้าที่
ิ
ุ
ตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลชั้นต้นและศาลอทธรณ์ และท าหน้าเป็น