Page 303 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 303
๒๙๐
ิ
ื่
ซึ่งก าหนดหลักเกณฑ์ในการยื่นและการพจารณาวินิจฉัยค าร้องขออนุญาตฎีกา และก าหนดปัญหาส าคัญอนที่
่
ศาลฎีกาควรวินิจฉัยตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๔๙ วรรคสอง (๖) ว่าได้แก่ปัญหา
ิ
ใดบ้าง
นอกจากนี้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงที่แกไขใหม่ มาตรา ๒๕๑ ยังได้น าหลักการของ
้
่
ระบบศาลสองชั้นมาใช้ส าหรับคดีที่ได้รับอนุญาตให้ฎีกาที่มีแต่เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย หากศาลฎีกาเห็นว่า
ค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาลอุทธรณ์ไม่ถูกต้อง ศาลฎีกามีอ านาจท าค าวินิจฉัยในปัญหาข้อกฎหมายนั้นและยก
ุ
ุ
ิ
ค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์หรือศาลชั้นต้น แล้วมีค าสั่งให้ศาลอทธรณ์หรือศาลชั้นต้นแล้วแต่กรณี
ิ
ท าค าพพากษาหรือค าสั่งใหม่ภายใต้กรอบค าวินิจฉัยของศาลฎีกาได้ โดยหลักการของระบบศาลสองชั้นเป็น
หลักการที่ใช้ในระบบศาลของหลายประเทศ เช่น ประเทศฝรั่งเศส อิตาลี และเบลเยียม ซึ่งศาลฎีกาจะวินิจฉัย
เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย ไม่วินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริงและจะไม่มีค าพพากษาชี้ขาดคดีด้วยตนเอง ศาลฎีกาใน
ิ
ิ
ระบบศาลสองชั้นมีอานาจเพียงยกอุทธรณ์หรือยกค าพพากษาของศาลล่าง และเนื่องจากศาลฎีกาในระบบศาล
สองชั้นไม่มีอ านาจท าค าพิพากษาคดีใหม่ จึงไม่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงค าพพากษาของศาลล่าง ในกรณีที่มีการ
ิ
ิ
ิ
ยกค าพพากษาของศาลล่าง ศาลฎีกาจะส่งส านวนคดีกลับมาให้ศาลล่างพพากษาคดีใหม่ ซึ่งท้ายที่สุดแล้ว
ศาลล่างต้องพิพากษาคดีตามแนวทางที่ศาลฎีกาก าหนดไว้
๕
่
การเปลี่ยนแปลงระบบฎีกาในคดีแพงจากระบบสิทธิมาเป็นระบบอนุญาตตามพระราชบัญญัติ
่
ิ
ิ่
แก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังกล่าวนับเป็นการแก้ไข
่
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงครั้งส าคัญที่สุดครั้งหนึ่งของประเทศไทย โดยส่งผลให้ต้องมีการ
ตราและแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องรวม ๘ ฉบับ ด้วยกัน โดยกฎหมายทั้ง ๘ ฉบับมีผลใช้บังคับพร้อมกันตั้งแต่
วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๘ ดังนี้ การแก้ไขการฎีกาในคดีแพงเป็นระบบอนุญาตส่งผลให้ต้องมีการแก้ไขการฎีกา
่
ิ
ในศาลช านัญพเศษ ได้แก่ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลคดีภาษีอากร
ศาลคดีแรงงาน และศาลคดีล้มละลาย ซึ่งแต่เดิมก าหนดให้การอทธรณ์ค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลช านัญ
ิ
ุ
ุ
ุ
พเศษดังกล่าว ให้อทธรณ์โดยตรงต่อศาลฎีกาโดยไม่ต้องผ่านศาลอทธรณ์ อนเป็นการน าอทธรณ์แบบกบ
ิ
ุ
ั
ี
ี่
กระโดด (leap frog) ของประเทศทใช้ระบบกฎหมายคอมมอนลอว์หรือระบบจารีตประเพณีมาใช้ โดยได้มการ
ิ
แก้ไขพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพจารณาคดีของศาลช านัญพเศษทั้ง ๔ ศาล ดังกล่าวในเรื่องการอทธรณ์
ุ
ิ
ิ
และฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งของศาล ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพจารณาคดีแรงงาน
ิ
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ และวิธี
ิ
พจารณาคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ พระราชบัญญัติจัดตั้ง
ิ
ศาลล้มละลายและวิธีพจารณาคดีล้มละลาย (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ และพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากร
และวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยก าหนดให้การอุทธรณ์ค าพิพากษาหรือค าสั่งของศาล
ช านัญพิเศษ ทั้ง ๔ ศาลต้องอุทธรณ์ไปยังศาลอุทธรณ์คดีช านัญพิเศษ ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้ง
_____________________
๕ ธนกฤต วรธนัชชากุล.“ฎีการะบบอนุญาตในคดีแพ่ง ความยุติธรรมภายใต้หลักสากล”. (ออนไลน์).แหล่งที่มา :
https://www.matichon.co.th/politics/news_44982