Page 304 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 304
๒๙๑
ุ
ศาลอทธรณ์คดีช านัญพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยให้น าบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพงหรือประมวล
่
ิ
กฎหมายวิธีพจารณาความอาญาแล้วแต่กรณีมาใช้บังคับโดยอนุโลม อนเป็นการยกเลิกการ
ั
ิ
ุ
อุทธรณ์โดยตรงต่อศาลฎีกาในศาลช านัญพเศษดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อเป็นการแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์การอทธรณ์
ิ
และฎีกาของศาลช านัญพเศษทั้ง ๔ ศาล ให้สอดคล้องเป็นระบบเดียวกันกับหลักเกณฑ์การอทธรณ์และฎีกา
ุ
ุ
่
ิ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง และหากยังคงหลักเกณฑ์การอทธรณ์โดยตรงไปยังศาลฎีกา และ
่
ศาลฎีกามีค าสั่งไม่อนุญาตให้ฎีกาในเรื่องคดีแพงก็จะท าให้คู่ความในคดีไม่มีโอกาสได้รับการตรวจสอบ
ุ
ิ
ค าพพากษาของศาลชั้นต้นจากศาลล าดับชั้นที่สูงกว่าเลย การแก้ไขหลักเกณฑ์การอทธรณ์และฎีกาในศาล
ิ
ิ
ช านัญพเศษดังกล่าวจึงเป็นการคุ้มครองสิทธิของคู่ความในการโต้แย้งคัดค้านค าพพากษาของศาล โดยให้
ิ
คู่ความมีสิทธิได้รับการตรวจสอบค าพพากษาของศาลล่างจากศาลล าดับชั้นที่สูงกว่าอย่างน้อยชั้นหนึ่งด้วย และ
ได้มีการแก้ไขเพมเติมบทบัญญัติของพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพจารณาคดีของศาลช านัญพเศษทั้ง ๔
ิ่
ิ
ิ
ื่
ุ
ิ
ศาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งศาลอทธรณ์คดีช านัญพเศษ และบทบัญญัติเรื่องอนๆ เพอความสมบูรณ์ของ
ื่
ุ
กฎหมายด้วย นอกจากนี้ มีความจ าเป็นที่จะต้องจัดตั้งศาลอทธรณ์คดีช านัญพเศษขึ้นเป็นศาลชั้นอทธรณ์ โดย
ุ
ิ
ให้มี ๕ แผนก ประกอบด้วย แผนกคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ แผนกคดีภาษีอากร
ิ
ื่
ิ
แผนกคดีแรงงาน แผนกคดีล้มละลาย และแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว เพอให้การพจารณาพพากษาคดี
ิ
ิ
ิ
ุ
ช านัญพเศษในชั้นอทธรณ์กระท าโดยผู้พพากษาที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญพเศษในแต่ละด้าน ซึ่งจะท าให้
การพิจารณาพิพากษาคดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ิ
อย่างไรก็ตาม คดีที่ศาลช านัญพเศษ คือ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
ิ
ศาลคดีภาษีอากร ศาลคดีแรงงาน และศาลคดีล้มละลาย มีค าพพากษาหรือค าสั่งก่อนวันเปิดท าการของ
ศาลอทธรณ์คดีช านัญพเศษนั้น พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพจารณาคดีของศาลช านัญพเศษทั้ง ๔ ศาล
ิ
ุ
ิ
ิ
ิ่
ที่แก้ไขเพมเติมดังกล่าวก าหนดให้ยังคงน ากฎหมายเดิมมาใช้บังคับ คือ ให้อทธรณ์ไปยังศาลฎีกา และให้น า
ุ
ิ
บทบัญญัติของพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพจารณาคดีของศาลช านัญพเศษฉบับเดิมของแต่ละศาล คือ
ิ
ิ
ิ
ิ่
ฉบับซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนฉบับที่แก้ไขเพมเติมในปัจจุบันมาใช้บังคับกับการพจารณาพพากษาคดีของศาลฎีกา
นอกจากนี้ คดีช านัญพิเศษที่มีการอุทธรณ์และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลฎีกาก่อนวันเปิดท าการของศาลอทธรณ์
ุ
ิ
คดีช านัญพเศษนั้น ให้น าบทบัญญัติว่าด้วยการอทธรณ์ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลและวิธีพจารณาคดีของ
ิ
ุ
ศาลช านัญพเศษฉบับเดิมของแต่ละศาลมาใช้บังคับในการพจารณาพพากษาของศาลฎีกา ส่วนศาลอทธรณ์คดี
ิ
ิ
ิ
ุ
ช านัญพเศษจะเปิดท าการเมื่อใดนั้น เป็นไปตามที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา ส่วนของพระราชบัญญัติศาล
ิ
ิ่
เยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้มีการแก้ไขเพมเติม
ุ
บทบัญญัติให้สอดคล้องกับการจัดตั้งศาลอทธรณ์คดีช านัญพเศษ พระราชบัญญัติวิธีพจารณาคดีผู้บริโภค
ิ
ิ
ิ่
ุ
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘ มีการแก้ไขเพมเติมการฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์แผนกคดีผู้บริโภค
ิ
ุ
หรือศาลอทธรณ์ภาคแผนกคดีผู้บริโภค โดยยกเลิกบทบัญญัติเดิมและให้น าเอาบทบัญญัติเรื่องการฎีกาตาม
ิ่
่
ิ
ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงมาบังคับใช้โดยอนุโลม เพอให้สอดคล้องกับการแก้ไขเพมเติมประมวล
ื่
่
กฎหมายวิธีพจารณาความแพงเรื่องการฎีการะบบอนุญาต และได้มีการแก้ไขพระธรรมนูญศาลยุติธรรมตาม
ิ