Page 301 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 301

๒๘๘


                                    ๔
               คดีให้แก่ ศาลฎีกาอีกด้วย
                                                                ิ
                            จากหลักเกณฑ์ดังกล่าวท าให้มีคดีขึ้นสู่การพจารณาพพากษาของศาลฎีกาเป็นจ านวนมาก และ
                                                                       ิ
                                              ั
                                                                         ิ
                       ิ
                                                                                 ิ
               คดีค้างพจารณาสะสมเพมขึ้นทุกปีอนเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลต้องล่าช้า
                                    ิ่
               บางคดีต้องใช้เวลานับสิบปีตั้งแต่ฟองคดีในศาลชั้นต้นกว่าศาลฎีกาจะมีคาพิพากษาถึงที่สุด โดยศาลฎีกาประสบ

                                           ้
                                                                                 ิ
                                       ิ
                                                                         ิ
               ปัญหาในการมีคดีขึ้นสู่การพจารณาเป็นจ านวนมาก แต่ไม่สามารถพจารณาพพากษาให้แล้วเสร็จไปในเวลา
               อันรวดเร็ว ท าให้มีคดีค้างพิจารณาสูงและบางคดีที่มีความยุ่งยากซับซ้อนมากอาจค้างพิจารณาอยู่เป็นเวลานาน
                                                                                                ิ

                                                 ิ
               หลายปี ซึ่งการที่ประชาชนต้องรอผลค าพพากษาศาลฎีกาเป็นเวลานานท าให้การบังคับคดีตามคาพพากษาต้อง
               ล่าช้าก่อให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายแก่คู่ความและผู้เกี่ยวข้อง และถึงแม้จะมีการกลั่นกรองคดีที่จะขึ้นสู่การ
                 ิ
               พจารณาพพากษาของศาลฎีกา โดยในอดีตได้มีการน าเอาระบบฎีกาแบบอนุญาตมาใช้ในการจ ากัดสิทธิฎีกาใน
                        ิ
                     ่
               คดีแพง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๑๙ วรรคสอง ซึ่งบัญญัติให้
                                 ิ

                                         ิ
               อานาจหน้าที่ในการพจารณาพพากษาอรรถคดีของศาลฎีกา และหากเห็นว่าข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่จะ
                                                          ิ
                ุ

               อทธรณ์ต่อศาลฎีกานั้น ไม่เป็นสาระอนควรแก่การพจารณา ศาลฎีกามีอานาจไม่รับคดีไว้พจารณาพพากษาได้
                                                                                                  ิ
                                              ั
                                                                                          ิ

               ตามระเบียบที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาก าหนด ซึ่งจะเห็นได้ว่านอกจากจะได้บัญญัติถึงอานาจหน้าที่ของศาลฎีกาใน
                                             ิ
               การที่จะปฏิเสธไม่รับคดีไว้พิจารณาพพากษาแล้ว ยังเป็นการจ ากัดจ านวนคดีมิให้คดีขึ้นสู่ศาลฎีกา และท าให้คดี

                                                                                       ิ
               เสร็จสิ้นไปอย่างรวดเร็วด้วย การที่กฎหมายก าหนดให้อานาจศาลฎีกาในการใช้ดุลยพนิจปฏิเสธไม่รับวินิจฉัย
               ข้ออุทธรณ์ หรือฎีกาที่ยื่นต่อศาลฎีกาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๑๙
                                                                     ิ
                                               ื่
                                                                            ิ
               วรรคสอง ดังกล่าวนั้นมีวัตถุประสงค์เพอให้ศาลฎีกาได้ท าหน้าที่พจารณาพพากษาคดีเฉพาะคดีที่มีความส าคัญ
               และเป็นการลดปริมาณคดีที่คงค้างอยู่ในศาลฎีกาเป็นจ านวนมากจึงเป็นที่มาที่ต้องบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
               ดังกล่าว ซึ่งศาลฎีกาได้ออกระเบียบที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาว่าด้วยการไม่รับคดีซึ่งข้อกฎหมาย หรือข้อเท็จจริงที่
                                                         ิ
                                            ั
                ุ
                                                                   ิ
                                                                           ิ
               อทธรณ์หรือฎีกาจะไม่เป็นสาระอนควรแก่การพจารณาไว้พจารณาพพากษา พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยได้ก าหนด
               หลักเกณฑ์ในการไม่รับคดีที่ไม่เป็นสาระอนควรแก่การพจารณาของศาลฎีกาไว้ก็ตาม แต่ก็ยังคงมีคดีที่ไม่เป็น
                                                  ั
                                                              ิ
               สาระอนควรแก่การวินิจฉัยของศาลฎีกาขึ้นสู่ศาลฎีกาเป็นจ านวนมาก ท าให้เกิดความล่าช้าในการพจารณา
                     ั
                                                                                                   ิ
               พพากษาคดี และไม่สามารถลดปริมาณคดีที่จะขึ้นสู่ศาลฎีกาได้  จึงได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไข
                 ิ
                                                        ่
                 ิ่
                                          ิ
               เพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๘
               พฤศจิกายน ๒๕๕๘ โดยในหมายเหตุท้ายพระราชบัญญัติได้ระบุเหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้
                                                                    ่
               ว่า “โดยที่บทบัญญัติของประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงในส่วนการฎีกาไม่สามารถกลั่นกรองคดีที่ไม่
                                                       ิ
                                                                                                 ิ
                                                                          ี
               เป็นสาระอนควรแก่การวินิจฉัยของศาลฎีกาได้อย่างมีประสิทธิภาพเพยงพอ ท าให้การพจารณาพพากษาคดี
                                                                                         ิ
                        ั
               ของศาลฎีกาเกิดความล่าช้า ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นและความศรัทธาที่มีต่อระบบศาลยุติธรรม ดังนั้น
               เพื่อให้การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความเป็นธรรมแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
                                                                             ิ
               ทุกฝ่ายได้อย่างแท้จริงและรวดเร็วขึ้น สมควรก าหนดให้ศาลฎีกามีอานาจพจารณาว่าคดีที่ได้ยื่นฎีกาใดสมควร

               อนุญาตให้ขึ้นสู่การพิจารณาของศาลฎีกา จึงจ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้”
                                                                                ่
                                       ิ่
                           ซึ่งการแก้ไขเพมเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพงดังกล่าวเป็นการเปลี่ยนแปลง
                                          ิ่
                                                                  ิ
               หลักการฎีกาจากระบบเดิมที่ใช้ระบบสิทธิ ซึ่งเปิดโอกาสให้คู่ความฎีกาได้อย่างกว้างขวาง โดยถือหลักว่าการ
               ฎีกาเป็นสิทธิของคู่ความ การห้ามฎีกาเป็นข้อยกเว้น เป็นระบบอนุญาต โดยถือหลักว่าการฎีกาเป็นสิ่ง

               ที่กฎหมายห้าม คู่ความจะสามารถฎีกาได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาลฎีกา โดยก าหนดให้ศาลฎีกามีอานาจ
               พจารณาว่าคดีที่ได้ยื่นฎีกาเรื่องใดสมควรอนุญาตให้ขึ้นสู่การวินิจฉัยของศาลฎีกา เพอลดปริมาณคดีที่จะขึ้นสู่ศาลฎีกา
                 ิ
                                                                                ื่
               ____________________
                      ๔ คมกฤช  เทียนทัด เรื่องเดิม. หน้า ๓๕
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306