Page 299 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 299

๒๘๖


                           หลักความศักดิ์สิทธิ์แห่งค าพพากษา (Res Judicata) ตรงกับหลักในเรื่องกฎหมายปิดปากโดย
                                                  ิ
               ค าพิพากษา (Estoppel by Record) ซึ่งห้ามไม่ให้เถียงผลของค าพพากษาซึ่งได้วินิจฉัยไว้แล้ว และค าพิพากษา
                                                                      ิ
               มีผลเป็นการปิดปากไม่ให้คู่ความโต้เถียงเป็นอย่างอนได้ เฉพาะค าพพากษาซึ่งได้มีการวินิจฉัยไว้ในประเด็นที่
                                                          ื่
                                                                        ิ
               ตรงกันกับประเด็นที่กล่าวอางในคดีหลัง ในประเทศสหรัฐอเมริกาในบางต าราระบุว่าหลักกฎหมายปิดปากโดย
                                      ้
                                                                               ๓
               ค าพิพากษานี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งตามหลักกฎหมายอเมริกันว่า Res Judicata

               ที่มาและความส าคัญ
                           จากการศึกษาค้นคว้า แนวคิด ทฤษฎี หลักการส าคัญตลอดจนวัตถุประสงค์ในการให้มีการ
               อทธรณ์ ฎีกาค าพพากษาของศาลล่างไปยังศาลสูงนั้นไม่ว่าจะเป็นการฎีกาแบบระบบสิทธิหรือระบบอนุญาตก็
                ุ
                              ิ
                                                                      ิ
               ล้วนมีวัตถุประสงคเช่นเดียวกัน ตามหลักการตรวจสอบการพจารณาคดีของศาล “Double Degree of
                                                              ุ
               Jurisdiction” ซึ่งหมายถึงคู่ความในคดีย่อมมีสิทธิที่จะอทธรณ์คัดค้านค าวินิจฉัยชี้ขาดของศาลได้หนึ่งครั้งเป็น
                                                                               ิ
               อย่างน้อย  โดยหลักดังกล่าวถือว่าเป็นสิทธิของคู่ความในคดีที่จะได้รับการพจารณาพพากษาคดีของตนจาก
                                                                                       ิ
                                                                                      ื่
               ศาลสองชั้นศาลที่ต่างกัน โดยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขซึ่งมีข้อเท็จจริงอย่างเดียวกันเพอเป็นหลักประกันความ
                                                                 ิ
               ยุติธรรมให้แก่คู่ความ โดยให้มีการทบทวน ตรวจสอบ ค าพพากษาของศาลให้เป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย
                                                       ิ
                            ั่
                                                                      ่
               สร้างความเชื่อมน การยอมรับและเคารพในค าพพากษาของศาลแกคู่ความและประชาชนในสังคม เพื่อให้มีการ
               แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมโดยวิธีการที่สันติและสามารถอยู่ร่วมกัน ในสังคมต่อไปได้โดยไม่มีความ
                                                        ุ
               รุนแรงเกิดขึ้น แต่การฎีกาค าพพากษาของศาลอทธรณ์ต่อศาลฎีกาในประเทศที่มีการใช้ระบบกฎหมายแบบ
                                         ิ
               ซีวิลลอว์หรือคอมมอนลอว์จะน าระบบอนุญาตให้ฎีกามาใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศต่างๆ เช่น ประเทศ
               ฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ อิตาลี เบลเยียม และสหรัฐอเมริกา เป็นต้น โดยองค์คณะของผู้พิพากษาศาลฎีกาของ
               แต่ละประเทศเป็นผู้มีอานาจพจารณาว่าจะอนุญาตให้ฎีกาหรือไม่ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายก าหนดไว้
                                          ิ

               เพอกลั่นกรองคดีที่สมควรจะขึ้นสู่การพิจารณาพพากษาของศาลฎีกา ทั้งนี้ เพอไม่ให้มีปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลฎีกา
                                                                               ื่
                 ื่
                                                       ิ
                                      ิ

               เกินสมควรและเพอให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลฎีกาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถอานวยความ
                                              ิ
                              ื่
                                                                                    ั
               ยุติธรรมให้แก่คู่ความในคดีได้อย่างเหมาะสมเป็นธรรม และศาลฎีกาของประเทศที่พฒนาแล้วเหล่านี้รวมทั้งใน
               ประเทศต่างๆ จ านวนมากจะวินิจฉัยเฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย ไม่วินิจฉัยปัญหาข้อเท็จจริง การยื่นฎีกาจึง
               กระท าได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายเท่านั้น
                      ส าหรับประเทศไทยนั้นศาลเป็นสถาบันที่ใช้อานาจตุลาการในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ซึ่งมี

                                            ุ้
               บทบาทและหน้าที่ในการให้ความคมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ โดยมี
               หน้าที่หลัก คือพจารณาพพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เป็นธรรม
                                      ิ
                              ิ
                                                                                                    ุ
               และปราศจากอคติทั้งปวง โดยระบบศาลยุติธรรมแบ่งเป็น ๓ ชั้นศาล ประกอบด้วยศาลชั้นต้น ศาลอทธรณ์
                             ื่
                                                                                            ุ
                                                                               ุ
                                                   ิ
               และศาลฎีกา เพอให้คู่ความที่ไม่พอใจค าพพากษาของศาลชั้นต้นและศาลอทธรณ์ใช้สิทธิอทธรณ์ฎีกาต่อไป
                                                      ่
               แต่เดิมมาการฎีการะบบสิทธิ คู่ความในคดีแพงมีสิทธิฎีกาค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลทั้งปัญหาข้อเท็จจริง
                                                                   ิ
                                                                                         ่
                                                                             ิ
               และปัญหาข้อกฎหมายได้ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง โดยจ ากัดสิทธิฎีกา
               ในปัญหาข้อเท็จจริงเฉพาะคดีที่ราคาทรัพย์สินหรือจ านวนทุนทรัพย์ ที่พพาทกันในชั้นฎีกาไม่เกิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท
                                                                         ิ
                                                           ั
                                                                                            ้
               และคดีฟองขับไล่บุคคลใดๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อนมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นค าฟองไม่เกินเดือนละ
                      ้
                                                                                                ิ
               ๑๐,๐๐๐ บาท แต่คดีที่ต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงนั้น กฎหมายก็ยังเปิดโอกาสให้ฎีกาได้เมื่อผู้พพากษาที่นั่ง
               พิจารณาในศาลชั้นต้นและศาลอุทธรณ์มีความเห็นแย้งหรือรับรองให้ฎีกาตามประมวล
               ______________________
                                   ๓ เรื่องเดียวกัน
   294   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304