Page 297 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 297

การจ ากัดสิทธิคู่ความในการฎีกาในคดีแพ่งตามพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล

                                 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ.๒๕๕๘
                 Restriction on appealing rights for disputing parties in submitting appeal to

                   Supreme Court pursuant to the Civil Procedure Amendment Act No 27
                                                ( amended in 2015).

                                                                                         เลิศดิลก  ยุติธรรม*
                                                                    ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นในศาลแพงมีนบุรี
                                                                                                    ่
                                                                                     Lerddilok  Yuttitham

                                                             Vice Presiding Judge of the Min Buri Civil Court
               บทคัดย่อ

                                                                                       ิ
                                                                                ิ
                      เนื่องจากมีปริมาณคดีเข้าสู่ศาลฎีกาเป็นจ านวนมากท าให้ไม่สามารถพจารณาพพากษาคดีให้แล้วเสร็จ
                          ั
               ภายในเวลาอนรวดเร็ว ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ได้มีพระราชบัญญัติแก้ไขเพมเติมประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความ
                                                                        ิ่
                                                                                               ิ
               แพง (ฉบับที่ ๒๗) พ.ศ. ๒๕๕๘ เปลี่ยนระบบการฎีกาในคดีแพงจาก “ระบบสิทธิ” (Appeal as of Rights) ซึ่ง
                  ่
                                                                   ่
               ถือหลักว่า การฎีกาเป็นสิทธิของคู่ความ การห้ามฎีกาเป็นข้อยกเว้นเป็น “ระบบอนุญาต” (Discretionary
               Appeal) ซึ่งถือหลักว่าการฎีกาเป็นสิ่งที่กฎหมายห้าม คู่ความจะสามารถฎีกาได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาล
                                                                     ึ้
               ฎีกา เพื่อให้ศาลฎีกามีอานาจกลั่นกรองเฉพาะคดีทมีความส าคัญขนสู่ศาลฎีกา ท าให้ลดปริมาณคดีของศาลฎีกา
                                                         ี่
               ลงได้มากและการพิจารณาพิพากษาคดีของศาลฎีกามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งต่อมาประธานศาลฎีกาได้ออก
                                                                      ่
               ข้อก าหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพง พ.ศ. ๒๕๕๘ และข้อก าหนดของประธาน
               ศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔ ใช้บังคับควบคู่กันไป จากการศึกษาของ
                                                   ่
                                   ้
                                                                                              ่
               ผู้เขียนปรากฏว่าการแกไขกฎหมายดังกล่าวไม่จ ากัดประเภทของคดีที่จะสามารถยื่นฎีกาได้ จึงไมสามารถแก้ไข
               ปัญหาปริมาณคดีล้นศาลในศาลฎีกาได้เท่าที่ควรเพราะคู่ความสามารถใช้สิทธิยื่นค าร้องขออนุญาตฎีกาในคดี
                                   ิ
               แพงที่ศาลอทธรณ์มีค าพพากษาหรือค าสั่งได้ทุกคดี และศาลฎีกาต้องใช้เวลาในการพจารณาวินิจฉัยค าร้องขอ
                  ่
                                                                                     ิ
                         ุ
               อนุญาตฎีกาจ านวนมากท าให้ศาลฎีกาไม่สามารถพจารณาพพากษาคดีที่ค้างพจารณาอยู่ให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็ว
                                                         ิ
                                                                 ิ
                                                                                ิ
                                                                                   ่
                                                                                                     ิ่
               ผู้เขียนจึงเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงหลักเกณฑ์การขออนุญาตฎีกาในคดีแพง โดยสมควรแก้ไขเพมเติม
               ประมวลกฎหมายวิธีพจารณาความแพง โดยก าหนดประเภทของคดีที่สามารถขออนุญาตฎีกาได้ให้ชัดเจนขึ้น
                                  ิ
                                               ่
               โดยให้คู่ความสามารถขออนุญาตฎีกาได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมายและเฉพาะคดีที่ศาลอทธรณ์มีค าพพากษา
                                                                                                   ิ
                                                                                         ุ
               หรือค าสั่งกลับค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลชั้นต้น ส่วนคดีที่ศาลอทธรณ์พพากษายืนให้เป็นที่สุดตาม
                                ิ
                                                                           ุ
                                                                                  ิ
               ค าพพากษาหรือค าสั่งของศาลอทธรณ์ อนเป็นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนให้เข้าถึงความยุติธรรมได้ใน
                                                  ั
                   ิ
                                          ุ
                                                                             ิ
               ระดับหนึ่ง และสามารถลดปริมาณคดีที่ขึ้นสู่ศาลฎีกาท าให้การพจารณาพพากษาคดีของศาลฎีกาเป็นไปโดย
                                                                     ิ
               รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

               ค าส าคัญ : การจ ากัดสิทธิ  ระบบสิทธิ  ระบบอนุญาต

               บทน า
                                                      ุ
                      ตามกฎหมายเดิม ในคดีแพงเมื่อศาลอทธรณ์มีค าพพากษาหรือค าสั่ง คู่ความย่อมฎีกาได้ตามประมวล
                                             ่
                                                                 ิ
                                       ่
                                                                                                 ื่
                                                                            ิ
               กฎหมายวิธีพจารณาความแพง มาตรา ๒๔๗, ๒๔๘ แต่ศาลฎีกามีคดีค้างพจารณาเป็นจ านวนมากเพอลดปริมาณ
                          ิ
                                                ิ
               คดีเข้าสู่ศาลฎีกา จึงได้มีการแก้ไขเพ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งตามพระราชบัญญัติ

               ______________________
               * น.บ. (มหาวิทยาลัยรามค าแหง), น.บ.ท.
   292   293   294   295   296   297   298   299   300   301   302