Page 292 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 292
๒๗๙
ั
อนเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (restorative justice) และสุดท้าย
ิ่
จะส่งผลให้ศาลเยาวชนและครอบครัว มีเวลาเพมมากขึ้นในการให้ความส าคัญกับคดีที่มีความรุนแรง
ิ
ั
และมีความซับซ้อนอนย่อมส่งผลให้การพจารณาและพพากษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น แต่อย่างไรก็
ิ
ตาม แนวความคิดดังกล่าวนี้แม้จะมีการน าไปใช้อย่างแพร่หลายในต่างประเทศมาเป็นเวลานานแล้วแต่
ยังคงเป็นเรื่องใหม่ในสังคมไทย หากบุคลากรในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนขาดความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดของมาตรการนี้ การบังคับใช้กฎหมายย่อมขาดประสิทธิภาพและอกทั้งอาจท าให้
ี
ื่
สาธารณชนขาดความไว้วางใจและระแวงสงสัยการบังคับใช้กฎหมายเป็นไปโดยสุจริตเพอประโยชน์
สุงสุดส าหรับเด็กและเยาวชนหรือไม่ ดังนั้น ในการแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายควรจะมีการจัดตั้ง
ื่
คณะกรรมการไกล่เกลี่ยส าหรับเด็กและเยาวชนเหมือนกับคณะกรรมการของประเทศแคนนาดา เพอให้
เป็นบุคคลกลางในการช่วยเหลือ ช่วยเจรจาไกล่เกลี่ย รวมถงการให้ค าแนะน ากับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องใน
ึ
ิ
การใช้ดุลพนิจในการบังคับใช้กฎหมายให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันโดยปราศจากอคติและมีความเป็น
ธรรมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และก าหนดให้คณะกรรมการดังกล่าวช่วยเหลือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ
เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการและเหตุผลของกฎหมายกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องในการใช้ดุลพินิจบังคับ
ใช้กฎหมายและสร้างความรู้ความเข้าใจกับสาธารชนไปพร้อมกัน แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมดังกล่าว
จะสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพพาท พ.ศ.๒๕๖๒ ที่ก าหนดให้มีการจัดตั้งคณะ
ิ
ผู้ไกล่เกลี่ยทั้งในส่วนการไกล่ภาคประชาชนและภาครัฐ เป็นผู้ท าหน้าที่เจรจาไกล่เกลี่ย การสร้างความ
เข้าใจและให้ความรู้กับสาธารณชนดังกล่าวย่อมส่งผลให้ได้รับการสนับสนุนจากชุมชนและให้โอกาส
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรม นอกจากนี้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องให้การ
สนับสนุนและร่วมมือกันในการจัดตั้งโครงการชุมชนบ าบัดต่าง ๆ ที่จะเป็นหน่วยงานรองรับเด็กและ
ั
เยาวชนที่กระท าความผิดที่ถูกส่งตัวไปบ าบัดรักษา อนจะท าให้กระบวนการยุติธรรมส าหรับเด็กของ
ประเทศไทย ไม่ต้องพบกับปัญหาการขาดแคลนโครงการชุมชนบ าบัดเหมือนกับประเทศแคนนาดา
สุดท้ายสิ่งที่ส าคัญสุด ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องให้ความส าคัญโดยการการสนับสนุนใน
ด้านงบประมาณและกระตุ้นเตือนให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องตระหนักถึงแนวคิดและความส าคัญของการ
ิ
ั
บังคับใช้กฎหมาย เช่นเดียวกับที่ส านักงานอยการสูงสุดและกรมพนิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
้
ให้ความส าคัญในการน ามาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟองมาใช้ในทางปฏิบัติ
ิ
ั
อนจะเป็นกลไกส าคัญที่จะขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง อนจะส่งผลให้กระบวนการ
ั
ื้
ู
ยุติธรรมทางส าหรับเด็กและเยาวชนของประเทศไทย มีประสิทธิภาพในการแก้ไขฟนฟเด็กและเยาวชน
ทัดเทียมนานาอารยประเทศ