Page 287 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 287

๒๗๔




                     มีข้อสังเกตจากรายงานวิจัยสรุปได้ว่า ถึงแม้ว่าประเทศแคนนาดาจะประสบความส าคัญในการบังคับใช้
                     กฎหมาย Youth Criminal Justice Act ดังกล่าวข้างต้น แต่จากรายงานการวิจัยพบปัญหาส าคัญและ

                                            ิ
                          ุ
                     เป็นอปสรรคในการใช้ดุลพนิจผลักดันเด็กที่กระท าความผิดออกจากกระบวนการคือ  การขาดแคลน
                     โครงการต่าง ๆ ที่เหมาะสม (the lack of suitable programs) ที่จะรองรับต่อเด็กที่กระท าความผิด
                     เจ้าหน้าที่ต ารวจส่วนใหญ่ที่ถูกสัมภาษณ์เชื่อว่า การผลักดันเด็กออกจากกระบวนการอย่างไม่เป็น

                     ทางการและมาตรการทางเลือกอนในการปฏิบัติต่อเด็กอย่างไม่เป็นทางการ (informal diversion and
                                                ื่
                     Alternative Measures) มีคุณค่าอย่างส าคัญในการแก้ไขปัญหาเด็กกระท าความผิด แต่เจ้าหน้าที่

                     ต ารวจส่วนใหญ่ไม่สามารถน ามาตรการเหล่านี้มาปฏิบัติต่อเด็กได้เลย (at all) และในทางปฏิบัติ

                     เจ้าหน้าที่ต ารวจไม่สามารถน ามาตรการเหล่านี้มาใช้ได้มากเท่ากับที่ต้องการเพราะไม่มีโครงการต่าง ๆ
                                                                                                   ื่
                     มารองรับเด็กที่จะถูกผลักดัน สิ่งเหล่านี้ท าให้เจ้าหน้าที่ต ารวจรู้สึกว่าพวกเขาไม่มีทางเลือกอนในการ
                     ปฏิบัติต่อเด็กที่กระท าผิดที่เหมาะสม จึงจ าเป็นต้องแจ้งข้อกล่าวหาต่อเด็กและพวกเขายังรู้สึกอกว่า
                                                                                                      ี
                     มาตรการผลักดันเด็กออกจากกระบวนการหลังจากมีการแจ้งข้อกล่าวหา (post-charge diversion) ไม่
                     น่าสนใจและขัดต่อสามัญส านึกและท าให้พวกเขาต้องท าในสิ่งตรงกันข้ามคือแจ้งข้อกล่าวหาต่อเด็ก

                     เพอที่จะผลักดันออกจากกระบวนการ ส่งผลให้มีการแจ้งข้อกล่าวหาต่อเด็กมากขึ้น นอกจากนี้จากการ
                       ื่
                     วิจัยพบว่ากฎหมายฉบับปัจจุบันกระตุ้นให้มีการใช้มาตรการอย่างไม่เป็นทางการโดยเจ้าหน้าที่ต ารวจ

                     และมีข้อสันนิษฐานว่ามีความเหมาะสมส าหรับความผิดครั้งแรกที่เป็นความผิดไม่รุนแรง ดังนั้น การ

                     รณรงค์ให้การศึกษาและความรู้อย่างจริงจังกับมาตรการนี้จะเป็นสิ่งช่วยโน้มน้าวให้เจ้าพนักงานต ารวจ
                     เห็นว่า โดยภาพรวมแล้ว การใช้มาตรการอย่างไม่เป็นทางการเป็นสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมายและมีความ

                                                                       ี
                     เหมาะสมต่อการปฏิบัติต่อเด็กที่กระท าผิดกฎหมาย และมีเพยงในบางกรณีตามพฤติการณ์แห่งคดี การ
                     ส่งตัวเข้าสู่โครงการต่าง ๆ หรือการส่งตัวไปยังศาลจะเป็นสิ่งที่ชอบด้วยกฎหมายและมีความเหมาะสม
                                                                                                       ๘๐

                            ส่วนมาตรการทางเลือกอื่นในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาลของ

                     ประเทศไทย นั้น ในชั้นสอบสวน เจ้าพนักงานต ารวจคงมีอานาจแค่เปรียบเทียบปรับหรือยุติการ


                                                                                                      ิ
                     สอบสวนในคดีที่มีอานาจเปรียบเทียบปรับได้ตามที่กล่าวมาข้างต้นเท่านั้น ในส่วนของมาตรการพเศษ
                                                                                       ี
                     แทนการด าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟอง ยังคงมีการน ามาใช้ในทางปฏิบัติเพยงเล็กน้อย ในปี พ.ศ.
                                                     ้
                     ๒๕๖๒ การน ามาตรการตามมาตรา ๘๖ มาใช้ ๑,๓๖๐ คดี ศาลเห็นชอบ ๑,๓๕๔ คดี ส่วนมาตรการ
                                                    ้
                      ิ
                     พเศษแทนการด าเนินคดีอาญาหลังฟอง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ มีการน ามาตรการนี้มาใช้จ านวน ๑,๐๓๑
                                                                                  ิ
                     คดี จากจ านวนคดีทั้งหมด ๓๗,๑๔๘ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ มีการน ามาตรการพเศษมาใช้ ๑๐,๘๙๔ คดี จาก
                       ๘๑
                     จ านวนคดีทั้งหมด ๑๖,๖๔๐ คดี  และในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ น ามาตรการตามมาตรา ๙๐ และมาตรา
                                                 ๘๒

                            ๘๐  Peter J. Carrington and Jennifer L. Schulenberg, Police Discretion with Young Offenders,

                     p. ix-x
                            ๘๑  รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาญาจักร ประจ าปี พ.ศ.๒๕๕๕, หน้า ๒๖๗
                            ๘๒  รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาญาจักร ประจ าปี พ.ศ.๒๕๕๕, หน้า ๑๗๘
   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292