Page 286 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 286
๒๗๓
Program) มีคดีเกือบหนึ่งในสาม (ร้อยละ๓๐.๗) ได้รับการปฏิบัติโดยใช้การใช้ค าสั่งผลักดันออกจาก
ี
ั
กระบวนการอย่างเป็นทางการ (a formal diversion order) ในทางตรงกนข้าม มีคดีเพยง ๑ ใน ๗ คดี
หรือประมาณร้อยละ ๑๔.๘ คดีจบลงด้วยการถูกแจ้งข้อกล่าวหา (a criminal charge) จากผลการวิจัย
ิ
ดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงสัมฤทธิ์ผลของการน ามาตรการพเศษ (Extrajudicial measures)มาใช้ในทาง
ปฏิบัติและเจ้าพนักงานต ารวจยึดในหลักการและจุดมุ่งหมายของกระบวนการอย่างเหนียวแน่น ท าให้มี
ิ
จ านวนคดีที่เด็กและเยาวชนที่กระท าความผิดเข้าสู่กระบวนการพจารณาพพากษาของศาลน้อยลง
ิ
หลังจากมีการบังคับใช้กฎหมายฉบับปัจจุบัน จ านวนคดีที่มีการแจ้งข้อกล่าวหาลดลงอย่างมากและการ
ิ่
ใช้มาตรการพิเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาลโดยเจ้าหน้าที่ต ารวจมีจ านวนเพมมากขึ้นอย่างชัดเจน
มีข้อสังเกตว่า ภายใต้การบังคับใช้กฎหมายฉบับเดิมมีคดีเด็กกระท าความผิดถึงร้อยละ ๖๓ ถูกแจ้งข้อ
กล่าวหาด าเนินคดีและร้อยละ ๓๗ ไม่ถูกแจ้งข้อกล่าวหา แต่ภายใต้การบังคับใช้กฎหมายฉบับปัจจุบันมี
ู
คดีเพยงร้อยละ ๔๒ ของเด็กที่กระทาความผิดถูกแจ้งข้อกล่าวหาด าเนินคดีและอกร้อยละ ๕๘ ไม่ถกแจ้ง
ี
ี
ข้อกล่าวหา จ านวนเด็กที่ไม่ถูกแจ้งข้อกล่าวหาจะถูกผลักดันหรือเบี่ยงเบนออกไปจากกระบวนการทาง
ศาล (youths diverted from the court process) จะถูกว่ากล่าวตักเตือนอย่างเป็นทางการและไม่
เป็นทางการ รวมทั้งถูกส่งตัวเข้าโครงการบ าบัดของชุมชน (community programs) และโดยวิธี
ิ
มาตรการแทรกแซงพเศษก่อนแจ้งข้อกล่าวหา (pre-charge extrajudicial sanction) การ
เปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ต ารวจนี้ไม่ปรากฏหลักฐานว่าก่อให้เกิดการขยายเครือข่าย
(net-widening) กล่าวคือ การใช้มาตรการพเศษดังกล่าวนี้เพมมากขนไม่ได้ก่อให้เกิดมีจ านวนเด็กถูกส่ง
ึ้
ิ
ิ่
ึ้
เข้าสู่ระบบมากขน นอกจากนี้ในช่วงปี ค.ศ. ๒๐๐๒-๒๐๐๓ และปี ค.ศ. ๒๐๐๙-๒๐๑๐ จ านวนคดีที่เข้า
สู่การพจารณาของศาลลดลงประมาณร้อยละ ๒๐ ซึ่งเป็นสถิติลดลงในทุกเขตอานาจศาลและในทุก
ิ
ประเภทความผิด เมื่อเทียบกับสถิติคดีช่วงปี ค.ศ.๑๙๙๘-๙๙ มีคดีเด็กเข้าสู่กระบวนการมาตรการ
๗๘
ทางเลือกอนโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (alternative measures) เพยงจ านวน ๓๓ และ ๑๗๓
ี
ื่
คนตามล าดับ จึงสรุปได้ว่าเด็กทุก ๑๐,๐๐๐ คนจะมีเด็กเพียง ๑๓๕ คนถูกผลักดันเข้าสู่กระบวนการนี้ซึ่ง
เป็นการบังคับตามกฎหมายฉบับเดิม ดังนั้น ถือว่าได้การบังคับใช้กฎหมายฉบับปัจจุบันในส่วนของ
๗๙
มาตรการพเศษโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล (Extrajudicial Measures) ในชั้นเจ้าหน้าที่ต ารวจ
ิ
บรรลุซึ่งวัตถุประสงค์ในการแก้ไขกฎหมายในส่วนนี้ อนเป็นการปฏิบัติที่สอดคล้องกับแนวคิดและ
ั
วัตถุประสงค์ในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนที่กระท าผิดกฎหมายกับนานาอารยประเทศ และแนวทาง
การใช้มาตราการดังกล่าวมีบังคับใช้ในคดีที่ผู้กระท าความผิดเป็นผู้ใหญ่คือมีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป โดย
เรียกกระบวนการนี้ว่า “Alternative Measures” มีแนวคิดวัตถุประสงค์เหมือนกันดังกล่าวมาข้างต้น
๗๘ Department of Justice Canada, The Youth Criminal Justice Act: Summary and Background,
p4-6
๗๙ Cherly Engler and Shannom Crowe, Alternative Measures in Canada, ๑๙๙๘-๙๙ Statistics
Canada-Catalouge no.85-002-XIE Vol.20 no.6, p.1