Page 282 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 282
๒๖๙
ื่
มีขั้นตอนการกลั่นกรองคดี (Screening Process) เพอผลักดันหรือเบี่ยงเบนคดี (Diversion) บาง
ื่
ประเภทโดยให้มีมาตราทางเลือกอนในการปฏิบัติโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการยุติธรรมทางศาล และ
ิ
นอกจากนี้ยังมีการแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายที่ให้อานาจผู้อานวยการสถานพนิจในการท าความเห็น
สั่งไมฟ้องคดีเสนอพนักงานอัยการ โดยบัญญัติไว้ในมาตรา ๖๓ เพื่อให้กฎหมายสามารถน ามาบังคับใช้ได้
่
ิ
ในทางปฏิบัติ แต่อย่างไรก็ตามตั้งแต่มีบทบัญญัติกฎหมายให้อานาจผู้อานวยการสถานพนิจในการท า
้
ความเห็นสั่งไม่ฟองคดีดังกล่าวตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ผู้อานวยการสถานพนิจยังไม่เคยท าความเห็นไปยัง
ิ
ั
๖๑
พนักงานอยการ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว
และวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ แก้ไขปรับปรุงกฎหมายเดิมหลายประการและมี
ื่
การน าเอาแนวความคิดการใช้มาตรการทางเลือกอน (Alternative Measure) มาปฏิบัติต่อเด็กและ
เยาวชนที่กระท าความผิดกฎหมายมากยิ่งขึ้น ตั้งแต่ในชั้นพนักงานสอบสวน โดยให้อานาจพนักงาน
ิ
ิ่
สอบสวนมีดุลพนิจเพมมากขึ้นในการยุติคดีโดยไม่ต้องแจ้งข้อกล่าวหา ในคดีที่เด็กกระท าความผิดที่เป็น
ื่
คดีที่กฎหมายให้อยู่ในอานาจเปรียบเทียบปรับของพนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานอน หากเป็นการ
ื่
กระท าความผิดครั้งแรก พนักงานสอบสวนหรือเจ้าพนักงานอนมีอานาจเรียกเด็ก บิดา มารดา
ผู้ปกครองหรือบุคคลหรือผู้แทนองค์กรซึ่งเด็กนั้นอาศัยอยู่ด้วยมาว่ากล่าวตักเตือน (warning) หากเด็ก
ส านึกในการกระท าและผู้ดูแลเด็กดังกล่าวสามารถดูแลเด็กได้ ก็ให้งดการสอบสวนและปล่อยตัวไป
๖๒
(the interrogation shall be suspended and the child shall be released) น อ กจ าก นี้
ิ
ให้หมวด มาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญา (special measure in lieu of criminal
๗
prosecution) ยังเป็นขั้นตอนการผลัดดันหรือเบี่ยงเบนเด็กและเยาวชนที่กระท าผิดออกจาก
กระบวนการทางศาลใน ๒ ระดับ กล่าวคือ มาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญาก่อนฟองคดี
้
ิ
๖๔
๖๓
้
มาตรการในขั้นตอนนี้เป็นการให้อานาจผู้อานวยการสถานพนิจในการท าความเห็นไม่ฟองคดีต่อศาล
ิ
ั
ื้
ู
ื้
ั
พร้อมแผนแก้ไขบ าบัดฟนฟเสนอพนักงานอยการ หากพนักงานอยการเห็นว่าแผนแก้ไขบ าบัดฟนฟ ู
เป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของเด็กหรือเยาวชนแล้ว เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ให้พนักงานอัยการ
เห็นชอบกับแผนดังกล่าวและให้มีการด าเนินการตามแผนแก้ไขบ าบัดฟนฟูทันที พร้อมทั้งรายงานให้ศาล
ื้
ิ
ทราบ เมื่อมีการปฏิบัติตามแผนแก้ไขบ าบัดฟนฟครบถ้วนแล้ว ให้ผู้อานวยการสถานพนิจรายงาน
ื้
ู
๖๑ อดิศร ไชยคุปต์, “ดุลพินิจของพนักงานอัยการในการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญา” (วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตร
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแห่ง,๒๕๔๓ ), หน้า ๘๖.
๖๒ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ ,
มาตรา ๖๙/๑
๖๓ ส านักงานศาลยุติธรรม,คู่มือมาตรการพิเศษแทนการด าเนินคดีอาญา ตามมาตรา ๙๐
๖๔ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓, มาตรา
๘๖ ถึงมาตรา ๘๙