Page 284 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 284

๒๗๑




                     มาตรา ๘๖ มาใช้ ๑,๓๖๐ คดี ศาลเห็นชอบ ๑,๓๕๔ คดี และน ามาตรการตามมาตรา ๙๐ และมาตรา
                     ๑๓๒ มาใช้ ๙,๒๔๙ คดี ไม่ส าเร็จ ๗๕๘ คดี อยู่ระหว่างด าเนินการ ๙,๘๑๙ คดี จากจ านวนคดีทั้งหมด

                                ๗๒
                                                  ิ
                     ๑๔,๘๐๔ คดี  การใช้มาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญาทั้งสามประเภทมีแนวโน้มที่จะมีการ
                     บังคับใช้มากขึ้นเป็นล าดับในความผิดหลากหลายประเภทโดยเฉพาะการใช้มาตรา ๙๐ กฎหมาย
                     ก าหนดให้น ามาใช้ได้ในความผิดที่ก าหนดโทษจ าคุกไม่เกิน ๒๐ ปี ส่วนมาตรา ๑๓๒ ไม่มีการก าหนด

                      ั
                     อตราโทษขั้นสูงไว้ โดยอยู่ภายใต้ข้อก าหนดของประธานศาลฎีกาที่ออกโดยความเห็นชอบของที่ประชุม
                                                                                  ิ
                     ใหญ่ศาลฎีกา  แต่อย่างไรก็ตาม จากสถิติดังกล่าวจะเห็นได้ว่า มาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญา
                                ๗๓
                               ้
                     ในชั้นก่อนฟองยังมีการน ามาใช้ในทางปฏิบัติไม่มากนัก ทั้งนี้อาจมีสาเหตุมาจากบุคคลากรที่เกี่ยวข้องยัง
                     อาจขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเหตุผลของมาตรการนี้ ดังจะเห็นได้จากส านักอยการ
                                                                                                     ั
                     สูงสุด เคยมีหนังสือเวียนตอบข้อหารือของกรมพนิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนว่ามาตรการพเศษ
                                                              ิ
                                                                                                      ิ
                     แทนการด าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟองคดี สามารถน ามาใช้ได้ในคดีความผิดต่อรัฐหรือความผิดที่ไม่มี
                                                    ้
                                                                         ิ
                     ผู้เสียหายด้วย  จากการสัมภาษณ์พบว่าในปัจจุบันกรมพนิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ให้
                                  ๗๔
                     ความส าคัญกับการน ามาตรการพเศษแทนการด าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟอง โดยก าหนดนโยบายให้มี
                                                                                   ้
                                                 ิ
                     การน ามาตรการนี้มาใช้อย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ท าให้ในช่วงหลังโดยเฉพาะในปี พ.ศ. ๒๖๕๔ มีการน า
                     มาตรการนี้มาใช้ถึง ๑,๓๖๐ คดี
                                               ๗๕


                     ๔. วิเคราะห์มาตรการทางเลือกอื่นในการปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชนโดยไม่ผ่าน

                     กระบวนการทางศาลของประเทศไทยกับประเทศแคนนาดา


                            The Youth Criminal Justice Act เป็นกฎหมายของรัฐบาลกลางฉบับปัจจุบันของประเทศ

                                      ื่
                     แคนนาดา ออกมาเพอให้เป็นกฎหมายแม่แบบเพอให้มลรัฐต่าง ๆ น าไปปรับใช้เป็นกฎหมายภายในแต่
                                                              ื่
                                                                                       ั
                     ละรัฐ ดังนั้นจึงเป็นความรับผิดชอบของแต่ละจังหวัด (provinces) ในการพฒนาและน ากฎหมาย
                                                                                 ๗๖
                     ดังกล่าวมาบังคับใช้และการพฒนาระบบชุมชนบ าบัดของโครงการต่าง ๆ  โดยมีการประกาศหลักการ
                                             ั


                            ๗๒  รายงานสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาญาจักร ประจ าปี พ.ศ.๒๕๖๒, หน้า ๑๙๕
                            ๗๓  นางพฤษภา พนมยันตร์,การคุ้มครองผู้กระท าความผิดที่เป็นเด็กและเยาวชนโดยมาตรการพิเศษแทนการ
                     ด าเนินคดีอาญา,หลักสูตรนิติธรรเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ ๔ วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ ส านักงานศาลรัฐธรรมนูญ, หน้า ๑๓-๑๔

                            ๗๔  หนังสือ อส๐๐๐๗(พก)/ว ๒๔๗ ลง ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๙ ,เรื่อง การใช้มาตรการพิเศษแทนการ
                     ด าเนินคดีอาญาในชั้นก่อนฟ้องคดี, ส านักงานอัยการสูงสุด
                            ๗๕  นางสาวจิตติมา กระสานติ์กุล, ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนเขต ๑ จังหวัดระยอง, กรม

                     พินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน, สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์, ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๔.
                            ๗๖  Government of Saskatchewan, Alternative Measures and Extrajudicial Sanctions Program
                     Manual, p.9
   279   280   281   282   283   284   285   286   287   288   289