Page 279 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 279
๒๖๖
มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับการกระท าความผิดเล็กน้อยและพวกเขาต้องใช้ชีวิตเจริญเติบโตมาจากสิ่ง
้
เหล่านี้ ดังนั้นเด็กส่วนใหญ่จะต้องถูกน าตัวออกไปให้พนจากวงจรของการก่ออาชญากรรมนี้และส่วนที่
เหลือจะต้องได้รับการปฏิบัติโดยมีการเข้าแทรกแซง(intervention)ด้วยกระบวนการต่าง ๆ โดยเฉพาะ
ื่
กระบวนการยุติธรรมเพอปรับปรุงให้มีพฤติกรรมดีขึ้น และจากรายงานวิจัยยังพบอกว่า เด็กจ านวนมาก
ี
ที่ถูกน าตัวเข้าสู่กระบวนการทางศาลจะถูกยุติคดี (the charge withdrawn) จากข้อมูลของศาลในรัฐ
Ontario มีจ านวนคดีถึงร้อยละ ๔๒ ถูกจ าหน่ายชั่วคราวหรือถูกเพิกถอน ดังนั้น วัตถุประสงค์ส าคัญของ
กระบวนการเบี่ยงเบนหรือผลักดันคดีก่อนการแจ้งข้อกล่าวหา (pre-charge diversion) คือการสร้าง
ื่
ความมั่นใจว่า คดีที่ผ่านการกลั่นกรองเข้าสู่กระบวนการทางเลือกอนจะต้องเป็นคดีที่สุดท้ายแล้วหากมี
การส่งคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมตามขั้นตอนปกติจะเป็นคดีสิ้นสุดลงด้วยการยุติคดีเช่นเดียวกัน
ดังนั้นเจ้าหน้าที่ของกระบวนการยุติธรรมที่ต้องเผชิญหน้าเป็นด่านแรกกับเด็กจะได้รับประโยชน์เป็น
อย่างมากจากความชัดเจนของกฎหมายที่จะช่วยให้น าเอามาตราการพเศษต่าง ๆ มาใช้อย่างเหมาะสม
ิ
อนเป็นหลักประกันได้ว่าผู้ปฏิบัติทั้งหมดจะไม่สร้างรอยมลทินของอาชญากรให้กับพฤติกรรมปกติของ
ั
๔๙
วัยรุ่น
๒.) วิวฒนาการเกี่ยวกับมาตรการทางเลือกอนในการปฏิบัติต่อผู้กระทาความผิดโดยไม ่
ั
ื่
ผ่านกระบวนการทางศาล (Alternative Measures) ในประเทศไทย
ประเทศไทยประกาศใช้พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ย พ.ศ.๒๕๖๒ ในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒ มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เว้นแต่
บทบัญญัติแห่งหมวด ๒ การไกล่เกลี่ยข้อพพาททางแพง หมวด ๓ การไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญา
ิ
ิ
่
หมวด ๔ การไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญาในชั้นสอบสวน และหมวด ๕ การไกล่เกลี่ยข้อพพาทภาค
ิ
ิ
้
ประชาชน ให้ใช้บังคับเมื่อพนก าหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้น
ิ
่
ไป โดยให้เหตุผลส าคัญในการตราพระราชบัญญัตินี้ว่า โดยที่ปัจจุบันข้อพพาททางแพงและทางอาญา
เกิดขึ้นเป็นจ านวนมาก เห็นควรให้น ากระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพพาททางแพงซึ่งมีทุนทรัพย์ไม่มากนัก
่
ิ
ิ
ื่
และข้อพพาททางอาญาบางประเภทมาก าหนดเป็นกฎหมายกลางเพอให้หน่วยงานของรัฐ พนักงาน
สอบสวน หรือศูนย์ไกล่เกลี่ยข้อพพาทภาคประชาชนใช้ในการยุติหรือระงับข้อพพาทดังกล่าว โดย
ิ
ิ
ค านึงถึงความยินยอมของคู่กรณีเป็นส าคัญ ท าให้ปริมาณคดีขึ้นสู่ศาลลดน้อยลง ลดปัญหาความขัดแย้ง
เกิดความสมานฉันท์ขึ้นในสังคม ลดงบประมาณแผ่นดิน และเสริมสร้างสังคมให้อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
ิ
ในหมวดที่ ๓ พระราชบัญญัติดังกล่าวนี้ เป็นบทบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญา ก าหนดให้
หน่วยงานอนที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ต ารวจ มีอานาจในการไกล่เกลี่ยข้อพพาท ส่วนในหมวด ๔ เป็นบทบัญญัติ
ื่
ิ
การไกล่เกลี่ยข้อพพาททางอาญาในชั้นสอบสวน โดยมีมาตรา ๓๙ ให้ค านิยามไว้ว่า “การไกล่เกลี่ย
ิ
๔๙ Siu Ming Kwok and ithers, Supporting Positive Outcomes for Youth Involved with the
Law, P10