Page 274 - บทความทางวิชาการหลักสูตร ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล รุ่นที่ 21
P. 274
๒๖๑
* มาตรการแทรกแซงพิเศษ (extrajudicial sanction) เป็นวิธีการที่เป็นทางการมาก
ที่สุดของวิธีทางทั้งหมดที่กล่าวมา อาจเกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังการแจ้งข้อกล่าวหา(pre-charge or
ื่
post-charge) วิธีการนี้จะไม่เหมือนกับวิธีการอนที่กล่าวมาและจะน ามาใช้ได้ก็ต่อเมื่อเด็กยอม
รับผิดชอบส าหรับความผิดที่ได้กระท าลงไปและยินยอมจะอยู่ภายในเงื่อนไขที่ก าหนด(sanction) โดย
ปกติจะใช้กับคดีเล็กน้อยและไม่ต้องผ่านกระบวนการทางศาล วิธีการนี้จะต้องด าเนินการในโครงการที่
ั
ถูกจัดตั้งโดยอยการสูงสุด ถ้าเด็กล้มเหลวไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ก าหนดให้ครบถ้วน คดีอาจถูก
ิ
ส่งเข้าสู่กระบวนพจารณาของศาล วิธีการนี้จะน ามาใช้ได้ก็ต่อเมื่อวิธีการตักเตือนและการส่งต่อดังกล่าว
มาขางต้นในชั้นเจ้าหน้าที่ต ารวจไม่มีความเหมาะสมที่จะน ามาปฏิบัติต่อเด็ก แต่ถ้าเด็กปฏิบัติครบถ้วน
้
๓๘
ตามข้อตกลง ข้อกล่าวหาของเด็กจะถูกถอนหรือยุติ (all charges against them stayed or
dropped) จะไม่มีประวัติการกระท าความผิดอยู่ที่ศาล ตัวอย่างคดีในเมือง Lethbridge, Alberts มีเด็ก
วัยรุ่น ๓ คนขับรถเข้าไปในสถานที่ก่อสร้างที่ก าลังก่อสร้างบ้านและขโมยวัสดุก่อสร้างหลายรายการ
เพื่อนบ้านเห็นเหตุการณ์และจดหมายเลขทะเบียนรถไว้และแจ้งเจ้าหน้าที่ต ารวจ ต่อมาเจ้าหน้าที่ต ารวจ
ื่
ู
สามารถติดตามไปพบ จึงเข้าพดคุยกับพวกเด็กวัยรุ่นดังกล่าวและบิดามารดาของพวกเด็กวัยรุ่นเพอ
ตกลงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อนดับแรก พวกเด็กวัยรุ่นเอาวัสดุก่อสร้างที่เหลือไปคืนยังสถานที่
ั
ั
ก่อสร้าง อนดับต่อไป พวกเขาขอโทษต่อเจ้าของบ้านซึ่งเป็นเจ้าของวัสดุก่อสร้าง เจ้าของบ้านประเมิน
ราคาของวัสดุก่อสร้างที่ไม่ได้คืนเป็นเงิน ๒๐๐ ดอร์ล่า บิดามารดาของวัยรุ่นคนหนึ่งคืนเงินดังกล่าวให้แก่
เจ้าของบ้าน และพวกวัยรุ่นให้สัญญาว่าจะคืนเงินให้แก่บิดามารดา ถึงแม้ว่าวิธีการดังกล่าวนี้จะใช้เวลา
ู
ในการพดคุยกันระหว่างเจ้าหน้าที่ต ารวจ บิดามารดาและผู้เสียหาย แต่ก็ท าให้มีวิธีการที่แก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้นอย่างมีความหมายต่อพฤติกรรมของวัยรุ่นด้วยความหวังว่าจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่เด็ก
วัยรุ่นได้เป็นอย่างดี แต่การใช้วิธีการนี้เด็กจะต้องยอมรับว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับความผิดที่เกิดขึ้น เช่น
ยอมรับว่าอยู่ในสถานที่เกิดเหตุจริง ถึงแม้ว่าการยอมรับนี้จะเป็นความรับผิดชอบอย่างหนึ่งแต่ไม่ถือว่า
เป็นการยอมรับว่ากระท าความผิด จึงไม่สามารถน าไปใช้เป็นพยานหลักฐานในศาลในภายหลังหากมีคดี
๓๙
ต้องขึ้นสู่การพิจารณาของศาล
จากบทบัญญัติและมาตรการดังกล่าว ท าให้ทุกจังหวัดของประเทศแคนนาดา
เจ้าพนักงานต ารวจจะมีบทบาทส าคัญเป็นอย่างมากในการตัดสินใจว่าจะเริ่มต้นกระบวนการยุติธรรมจน
น าไปสู่การใช้กระบวนการอย่างเป็นทางการ (formal response) ในการปฏิบัติต่อผู้ถูกกล่าวหาว่า
กระท าความผิดหรือไม่ โดยเจ้าพนักงานต ารวจอาจตัดสินใจไม่ใช้กระบวนการอย่างเป็นทางการของศาล
ิ
(formal processes of court) หรือมาตรการพเศษทางเลือกอนในการปฏิบัติต่อเด็กโดย
ื่
๓๘ Siu Ming Kwok and others, Supporting Positive Outcomes for Youth Involved with the
Law, p9-10
๓๙ The Youth Criminal Justice System Retrieved on July 29,2021, from https://k12resources.
nelson.com/social_studies/9780176685751/student/pdf/AAL_SB_Ch_10_p326-351.pdf